วิถีสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

Framework for 21st Century Learning
Framework for 21st Century Learning

1. ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
ประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
http://www.kmi.or.th/
ให้เด็กเป็นผู้เลือกทั้งหมดก็ไม่ได้
เพราะเด็กยังไม่โต ยังคิดกว้างขวางไม่ได้
การศึกษาต้องเข้าไปช่วยเข้าไปจัดการอะไรต่าง ๆ
2. นพ.ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์
เลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์
http://www.thaissf.org/
จำนวนความรู้เพิ่มขึ้นมหาศาล
เราไม่ต้องการเด็กที่รู้เยอะ ท่องเก่ง เรียนเก่งแต่เพียงอย่างเดียว
อยากได้เด็กที่ใฝ่รู้ อยากเรียนรู้ของใหม่เรื่อย ๆ รู้วิธีที่จะเรียนรู้
มีทักษะการเรียนรู้ที่เรียกว่า learning skill
แล้วก็มีทักษะการใช้ชีวิต life skill

ศตวรรษที่ 21
http://www.p21.org/

1. สาระวิชาหลัก ได้แก่
ภาษาแม่และภาษาสำคัญของโลก
ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
รัฐ และความเป็นพลเมืองที่ดี

2. แนวคิดสำคัญที่ควรรู้
– ความรู้เกี่ยวกับโลก
– ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ
– ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี
– ความรู้ด้านสุขภาพ
– ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม

3. ทักษะสำคัญ 3 เรื่อง
3.1 ทักษะชีวิต และการทำงาน
– ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
– การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
– ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม
– การเป็นผู้สร้างหรือผลิตและความรับผิดชอบเชื่อถือได้
– ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ
3.2 ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
– ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
– การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
– การสื่อสารและความร่วมมือ
3.3 ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
– ใช้และประเมินสารสนเทศได้อย่างเท่าทัน
– วิเคราะห์และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
– ใช้เทคโนโลยีใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. โครงสร้างพื้นฐาน 4 ด้านเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้
– มาตรฐานและการประเมินในศตวรรษที่ 21
– หลักสูตรและการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
– การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21
– สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้

5. เปลี่ยนเป้าหมายจาก “ความรู้” สู่ “ทักษะ”
เปลี่ยนจากครูเป็นหลัก
เป็นนักเรียนเป็นหลัก
เรียนโดยการปฏิบัติที่เรียกว่า PBL : Problem Based Learning
โดยครูเป็นเพียงโค้ช (Coach) หรือครูฝึก ที่คอยช่วยเหลือ

6. เด็กจะได้ฝึกทักษะต่าง ๆ
– การตีโจทย์
– ค้นคว้าหาข้อมูล
– ตรวจสอบและประเมินข้อมูล
– เลือกสิ่งที่เหมาะสมมาใช้
– ได้ฝึกปฏิบัติจริง
– เพิ่มทักษะในการศึกษา
– การนำเสนออย่างสร้างสรรค์
– ฝึกการทำงานเป็นทีม
– แลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน
– ต่อยอดไปสร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเองต่อไป

7. ครูต้องมีทักษะที่สำคัญ คือ สร้างแรงบันดาลใจ
ทำให้เด็กมีพลัง มีไฟ ก็จะมีชีวิตชีวาในการเรียน

8. การเรียนรู้แบบ PBL
ไม่มีกรอบ มีเสรีภาพทางปัญญา เพราะเราไม่สนใจคำตอบ
สนใจกระบวนการหาคำตอบ
โจทย์ข้อหนึ่งมีวิธีตอบเยอะแยะ
เราสนใจการทำงานของกลุ่มและการเรียนรู้จากการทำกระบวนการเรียนรู้
การวัดมิใช่เพื่อประเมินได้ผล
แต่เป็นการวัดเพื่อประเมินความก้าวหน้า
เด็กทุกคนมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองไปเรื่อย ๆ

9.
การบ้านมีเพื่อให้เด็กมีความรู้
การบ้านสมัยใหม่ เช่น ปลายปีแสดงละครเช็คสเปียร์
แก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น เพราะมุ่งมั่นกับสิ่งที่เป็นระยะยาว และทำงานร่วมกันเป็นทีม
เป็นการเรียนรู้ที่ครูไม่ได้สอนด้วยวิธีการบอกให้ท่องจำแบบเดิม

10. สมัยใหม่ความรู้มหาศาลจนไม่รู้จะสอนอะไรให้เด็ก
จึงไม่แปลกที่ครูสักคนหนึ่งจะไม่รู้ จึงต้องมีเครื่องมือช่วยครู
คือ PLC = Professional Learning Commitee
การรวมตัวของครูที่จะเรียนรู้ “เรียนรู้การทำหน้าที่ครูยุคใหม่”
สิ่งที่สำคัญ คือ ร่วมกันทำ ดีกว่าทำคนเดียว เป็น “ชุมชนการเรียนรู้ครู”
– ช่วยกันออกแบบการเรียนรู้ของเด็ก
– ช่วยพัฒนาเพื่อให้เด็กมีทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21

11. แนวคิดการศึกษาต้องเปลี่ยนจากที่เราคุ้นเคย
เปลี่ยนแบบหน้ามือเป็นหลังมือ เยอะมาก
ถ้าเรียนแบบปัจจุบันส่งผลต่อสังคมอย่างไร
– วัยรุ่นจะเสียคน ไม่สนุก น่าเบื่อ
– ทั้งชาติยุ่ง เพราะเรียนเพื่อได้ความรู้อย่างเดียว ไม่ได้ทักษะ
ไม่มีวิจารณญาณ ไม่ได้ critical thinking
ถ้าทำได้สังคมเราก็จะยกระดับขึ้น

century 21
century 21

http://www.scribd.com/doc/97624333/
http://www.thaiall.com/blog/burin/3296/

ผมเพิ่มเติมว่า
ทักษะ = นำความรู้ + ไปทำและทำได้ + จนคล่องแคล่ว

ทักษะ (Skill) หมายถึง ความสามารถทางกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ที่ผู้รับการฝึกสามารถทำงานได้อย่างคล่องแคล่ว

ตัวแบบปัจจัยความสำเร็จสหกิจศึกษา

http://sphotos-d.ak.fbcdn.net/hphotos-ak-prn1/154460_564684576879011_543953131_n.jpg
ตัวแบบปัจจัยความสำเร็จสหกิจศึกษา

จากบทความ เรื่อง การพัฒนาตัวแบบปัจจัยความสำเร็จสหกิจศึกษาแบบมีส่วนร่วม (Key Success Factors Participative Co-op Education Development Model) โดย วันชาติ นภาศรี ธวัชชัย แสนชมภู สิริรัตน์ เลิศมีมงคลชัย
เสนอว่า ตัวแบบ 12 ปัจจัยความสำเร็จสหกิจศึกษาแบบมีส่วนร่วม มีดังนี้
1. การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง (Top Management Support)
2. การมีความรู้ ความเข้าใจในพันธกิจสหกิจศึกษา (Co-op Mission)
3. การจัดโครงสร้างงาน ระบบ & กลไก (Organization Management)
4. การจัดการความรู้สหกิจศึกษา (Co–op Knowledge Management)
5. การจัดทำแผนกลยุทธ์/คู่มือการปฏิบัติงาน (Co-op Schedule/Strategy Plan)
6. การสร้างการยอมรับ เห็นคุณค่า และประโยชน์ร่วมกัน (Stakeholder Acceptance)
7. การปรึกษาหารือ การให้คำแนะนำ การนิเทศ  (Consultation)
8. การติดต่อสื่อสาร การประสานงาน (Communication)
9. การจัดการทรัพยากร  (Resource Management)
10. เครือข่ายความร่วมมือ (Net Working)
11. การแก้ไขปัญหา และอุปสรรคที่เหนือความคาดหมาย (Troubleshooting)
12. การติดตามประเมินผล และการรับรู้ข้อมูลป้อนกลับ  (Monitoring Evaluation & Feedback)

แล้วมีข้อเสนอแนะ การนำไปประยุกต์ใช้กับสถาบันอุดมศึกษา ว่าควรพิจารณาดำเนินการ ดังนี้
1. ดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันของตนเอง วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) เพื่อประเมินศักยภาพ ความพร้อมตามองค์ประกอบ เงื่อนไข คุณลักษณะของตัวชี้วัดความสำเร็จสหกิจศึกษาที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต และนักศึกษา
2. ดำเนินการจัดการความรู้สหกิจศึกษา ปรัชญา แนวคิดพื้นฐาน หลักเกณฑ์ ขั้นตอน วิธีการดำเนินงาน ระบบและกลไกการประสานงาน จัดทำเป็น “คู่มือการจัดการศึกษาระบบสหกิจศึกษา” และการจัดการความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ (Internet) ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามบริบทของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ
3. จัดอบรม สัมมนาความรู้ ความเข้าใจ เตรียมความพร้อม ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสหกิจศึกษาให้บุคลากร อาจารย์/เจ้าหน้าที่ นักศึกษา องค์กรผู้ใช้บัณฑิต และประชาชนทั่วไปได้รับทราบ
4. ขยายเครือข่ายองค์กรผู้ใช้บัณฑิต การรับรู้เห็นคุณค่า คุณประโยชน์ของคณาจารย์ในทุกหลักสูตร การขยายหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนสหกิจศึกษา เพื่อรองรับนักศึกษาสหกิจศึกษา อย่างต่อเนื่อง
5. การบริหารจัดการตาม “ตัวแบบ 12 ปัจจัยความสำเร็จสหกิจศึกษาแบบมีส่วนร่วม”


http://www.facebook.com/media/set/?set=a.564684180212384.139685.506818005999002

http://www.scribd.com/doc/118643661/

ลงทุนกับอุปกรณ์เสริมการสอนปีละหลายล้านกับโรงเรียนในอังกฤษ แต่ได้ไม่คุ้ม

windows 8 ในอุปกรณ์ต่าง ๆ
windows 8 ในอุปกรณ์ต่าง ๆ

http://reviews.cnet.com/8301-3121_7-57531284-220/windows-8-the-complete-new-pc-launch-list/

UK schools waste ‘millions’ a year on useless gadgets

ประเด็นแรก .. งบประมาณกับประสิทธิภาพ
Summary: Are school budgets being battered (ทำลาย) by teachers who buy but never use the latest(ล่าสุด) gadget(อุปกรณ์เชิงกล)?

In the last five years, UK schools have spent over £1 billion pounds on buying the latest must-have gadgets, digital learning tools and software.
[1 British pound = 49.404908 Thai baht]

But how much of this investment is actually put to good use?

According to research released by non-profit organisation Nesta, although such a vast (มหาศาล) amount has been invested to modernize the British education system, there is “little evidence of substantial success” in improving learning through newly-acquired digital tools.
[อันดับระบบการศึกษา 2555 อังกฤษอยู่อันดับ 6 สหรัฐอยู่อันดับ 17 ไทย 37 จากทั้งหมด 40]
http://www.thaiall.com/blogacla/admin/2176/

Although technological advances can offer better access to educational material and interactive ways to learn, it isn’t an effortless process. In order to integrate technology within the classroom effectively, from replacing traditional textbooks with iPads to smart whiteboards, structured teaching and a balance between technology and core lesson aims have to be maintained.

As the report notes, it’s too easy to forget that not everyone is tech-savvy (เข้าใจ). As a former teacher, I recall working in several schools that would furnish their classrooms with the latest sparkly product, but forget to train their staff in its use, or assist them in ways to integrate technology within lesson plans. A desktop computer, tablet, smartphone or gaming system takes time to understand, and for busy teachers, finding methods to use this technology to achieve a learning aim may not be so simple.

The report suggests that spending £450 million pounds a year without evidence that it is improving education is nothing more than counter-productive. Instead of “fetishising (เครื่องราง) the latest kit“, Nesta says that teachers should make better use of what they already have.

In addition, the researchers say that many businesses are offering only “superficial (เพียงผิวเผิน)” benefits to learning, and too many apps and digital games are used to sugar-coat dull and misdirected lessons.

However, teachers also need support, and must become “confident users of digital technology in order to deal with (ขับเคี่ยว) the complexity and safety of digital tools.” Rather than using technology in an isolated way — only for tablets to be returned to the cupboard (ตู้อาหาร) after a lesson ends — it should act as a conduit (รางน้ำ) to keep learning going outside of school. By using the Internet to keep a learning network open and accessible, “social” tools, cloud computing and online groups could result in more effective teaching.

Rather than leaving millions of pounds’ worth of equipment “languish (เหี่ยวเฉา)  unused or underused in school cupboards”, the researchers suggest that in a time where economic problems are causing educational cutbacks, technology should serve as a tool rather than a distraction (เครื่องล่อใจ). Instead of giving in to the “hype” of digital learning, schools should reconsider how technology can serve as method to boost (ส่งเสริม)  education — rather than a way to make ineffective teaching methods look innovative and exciting.

#share in my facebook page
ที่อังกฤษพึ่งรู้ว่าการใช้ไอทีในโรงเรียน ไม่ใช่เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเท่าที่คาด เขาคิดว่าเสียเงินมากไปเมื่อเทียบกับผล แต่ผมว่ามีการหมุนเวียนของงบประมาณไปที่บริษัทไอที
The English know how to do it in schools is not only powerful tools that expect him to lose much thought when compared with the results, but I have a turnover of budget to it.
+ http://www.zdnet.com/uk-schools-waste-millions-a-year-on-useless-gadgets-7000007520/

+ http://www.zdnet.com/meet-the-team/uk/charlie.osborne/

ประเด็นที่ 2 .. ปัญหาของ online course
ผู้จัดการเรียนการสอนออนไลน์ในต่างประเทศกังวลเรื่องการควบคุมการโกง แล้วพบมาแล้วว่าเทคนิคการโกงจากการเรียนผ่าน online course มีดังนี้
1. บทความขโมยความคิด (plagiarized essays)
2. ร่วมกันทำข้อสอบ (illicitly collaborated on exams)
3. โพสออนไลน์ (posted solutions to test questions online)
4. ส่งคำตอบให้เพื่อน (emailed answers to classmates)
+ http://nation.time.com/2012/11/19/mooc-brigade-can-online-courses-keep-students-from-cheating/
“We need to be sure that the student who took the course is indeed who they say they are—that they did all the work,” said edX President Anant Agarwal. “That’s a real problem for MOOCs.”
MOOCs = Massive Open Online Courses

ประเด็นที่ 3 .. คำแนะนำต่อผู้กำหนดนโยบาย
5 บทเรียนสำหรับผู้กำหนดนโยบาย (Five lessons for education policymakers)
1. ไม่ใช่มายากล ต้องใช้งบประมาณ (There are no magic bullets)
2. ยอมรับครู (Respect teachers)
3. วัฒนธรรมไปร่วมกับการศึกษา (Culture can be changed)
4. พ่อแม่ต้องไม่เป็นอุปสรรค (Parents are neither impediments to nor saviours of education)
5. การศึกษาไม่ใช่อนาคต แต่เป็นปัจจุบัน (Educate for the future, not just the present)
http://thelearningcurve.pearson.com/the-report/executive-summary

ประเด็นที่ 4 .. แนะนำเกมขยับกันหน่อย (ต.ย.เกมบน android)

x-runner for android
x-runner for android

https://play.google.com/store/apps/details?id=com.droidhen.game.xrunner.apps

http://thaidroid-appvisor.blogspot.com/2012/10/x-runner.html

เปิดศูนย์นอกที่ตั้ง ต้องมีผลประเมิน สมศ. ระดับดีมาก

ระบบวงเวียนแทนสัญญาณไฟจราจร บริเวณห้าแยกหอนาฬิกาลำปาง
ระบบวงเวียนแทนสัญญาณไฟจราจร บริเวณห้าแยกหอนาฬิกาลำปาง
มีเพื่อนเล่าให้ฟังว่า กกอ. จะเข้มงวดกับศูนย์นอกที่ตั้ง ว่าต้องผ่านการประเมินจาก สมศ. ระดับดีมาก
ขอแค่ระดับดี หรือ พอใช้ไม่ได้แล้ว พอไปค้นดูก็พบจาก 2 สื่อ คือ ไทยโพสต์ กับเดลินิวส์ เมื่อกลางสิงหาคม 2555
แล้วได้ยินนักวิชาการพูดเรื่องนี้ว่าต่อไปจะเหมือนออก license เป็นใบเขียว ใบเหลือง และใบแดง ผมฟังแล้วเหมือนสัญญาณไฟตามแยกของถนนเลยครับ ที่มีสัญญาณ 3 ประเภท
1) ออกกฎเหล็กการเปิดศูนย์นอกที่ตั้ง ต้องให้รมว.ศธ.เซ็น/หลังผลตรวจล่าสุดน่าระอาไม่ผ่านประเมินอื้อ (ไทยโพสต์)
สกอ.เตรียมประกาศ เพิ่มขั้นตอนการเปิด และคงหลักสูตรการเรียนศูนย์นอกที่ตั้งมหาวิทยาลัย เบื้องต้นเพิ่มความเข้มงวดมหา’ลัยที่เปิดได้ต้องให้ รมว.ศธ.เห็นชอบ และต้องมีผลประเมิน สมศ. ระดับดีมาก โดยจะเสนอให้ที่ประชุม ครม.พิจารณาเร็วๆ นี้ “กำจร” เผยผลตรวจศูนย์นอกที่ตั้งประจำปี 2555 พบหลักสูตรไม่ผ่านการประเมินอื้อ ส่วนใหญ่เป็นระดับ ป.ตรี สั่งออกมาตรการแล้ว หลักสูตรใดไม่ผ่านการประเมินต้องหยุดรับนักศึกษาปี 56 ทันที
รศ.นพ.กำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เปิดเผยว่า ในการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เมื่อเร็วๆนี้ ได้รับทราบผลการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ประจำปี 2555 ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ระหว่างวันที่ 10 มี.ค.-30 มิ.ย.นี้ ซึ่งผลสรุปการตรวจประเมินจำนวน 14 สถาบัน 18 ศูนย์ 50 หลักสูตร พบว่า มีหลักสูตรผ่านการประเมิน 2 หลักสูตร 2 สถาบัน 2 ศูนย์ ไม่ผ่านการประเมิน 41 หลักสูตร 8 สถาบัน 11 ศูนย์ และต้องปรับปรุง 7 หลักสูตร 5 สถาบัน 5 ศูนย์ ทั้งนี้ หลักสูตรที่ไม่ผ่านส่วนใหญ่จะเป็นระดับปริญญาตรี อาทิ หลักสูตรบริหารธุรกิจ รัฐประศาสนศาสตร์ และครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ สกอ.ไปตรวจประเมินยังพบว่ามีศูนย์นอกที่ตั้ง ซึ่งยังไม่ถึงคิวประเมินได้ปิดตัวเองไปแล้วจำนวน 57 ศูนย์ ดังนั้นจะมีศูนย์นอกที่ตั้งที่ต้องไปตรวจประเมินในปี 2555 อีกจำนวน 162 ศูนย์ ประมาณ 300 กว่าหลักสูตร
รองเลขาฯ กกอ.กล่าวต่อว่า ผลการตรวจประเมินดังกล่าวทำให้ กกอ.มีมติเห็นชอบร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แต่ให้ปรับเพิ่มเล็กน้อย ก่อนที่จะเสนอนายสุชาติ ธาดาธำรงเวช รมว.ศึกษาธิการ ลงนาม จากนั้นจะต้องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อประกาศใช้ต่อไปหากมีร่างดังกล่าวเชื่อว่าจะทำให้สถาบันอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชนจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งมีคุณภาพมากขึ้น ขณะที่สถาบันไหนจัดการศึกษาไม่มีคุณภาพจะต้องปิดตัวไป และที่สำคัญการเปิดสอนนอกที่ตั้งไม่สามารถดำเนินการได้ง่ายเหมือนที่ผ่านมาจนเกิดปัญหาเหมือนปัจจุบันนี้
ส่วนสาระสำคัญของร่างดังกล่าว หากสถาบันอุดมศึกษาใดจะเปิดสอนนอกสถานที่ตั้งจะต้องขออนุญาตจาก รมว.ศึกษาธิการ ก่อนที่จะไปเปิดการเรียนการสอน ขณะที่หลักสูตรที่จะเปิดจะต้องเป็นความต้องการของสังคมและชุมชน รวมทั้งเปิดสอนในหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ อีกทั้งหลักสูตรที่จะเปิดสอนนั้นจะต้องรับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในระดับดีมาก และสถาบันอุดมศึกษาจะต้องมีการกำหนดระยะเวลาที่จะสิ้นสุดการดำเนินการ จำนวนอาจารย์ที่มีอยู่และจำนวนนิสิตนักศึกษาที่จะรับด้วย ซึ่งถ้าทำได้ตามนี้จะทำให้การศึกษานอกสถานที่ตั้งมีคุณภาพแน่นอน
สำหรับผลการตรวจประเมินศูนย์นอกที่ตั้ง ทาง สกอ.จะแจ้งผลให้สถาบันอุดมศึกษาที่เข้ารับการประเมินรับทราบ และหากสถาบันใดต้องการจะทักทวงผลการตรวจประเมินต้องดำเนินการภายใน 30 วัน ตั้งแต่ได้รับทราบผลจาก สกอ. สำหรับหลักสูตรที่ไม่ผ่านการประเมินนั้นจะต้องไม่เปิดรับนิสิตนักศึกษาในหลักสูตรนั้นในปีการศึกษา 2556 แต่จะไม่มีผลกระทบกับนิสิตนักศึกษาที่กำลังเรียนอยู่.
2) สกอ.มั่นใจจัดระเบียบสอนนอกที่ตั้งได้ผล (เดลินิวส์)
รศ.นพ.กำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา  (กกอ.) เปิดเผยว่า ในการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เมื่อเร็ว ๆ นี้ ที่ประชุมได้รับทราบผลการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ประจำปี 2555 ระหว่างวันที่ 10 มี.ค.- 30 มิ.ย.ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการตรวจประเมินใน 14 สถาบัน 18 ศูนย์ 50 หลักสูตร โดยพบว่า มีที่ผ่านการประเมิน 2 หลักสูตร 2 สถาบัน 2 ศูนย์ ไม่ผ่านการประเมิน 41 หลักสูตร 8 สถาบัน 11 ศูนย์ และต้องปรับปรุง 7 หลักสูตร 5 สถาบัน 5 ศูนย์  ซึ่งหลักสูตรที่ไม่ผ่านส่วนใหญ่จะเป็นระดับปริญญาตรีบริหารธุรกิจ รัฐประศาสนศาสตร์ และครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ และจากการตรวจประเมินยังพบว่ามีศูนย์นอกที่ตั้งได้ปิดตัวเองไปแล้วจำนวน 57 ศูนย์ ทำให้เหลือศูนย์นอกที่ตั้งที่ต้องไปตรวจประเมินในปี 2555 อีกจำนวน 162 ศูนย์ ประมาณ 300 กว่าหลักสูตร

อย่างไรก็ตามหลังจากนี้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จะสรุปผลการตรวจประเมินแจ้งให้สถาบันอุดมศึกษารับทราบ เพื่อให้สถาบันทักท้วงผลการตรวจประเมินภายใน 30 วันนับจากได้รับทราบผล ทั้งนี้หลักสูตรที่ไม่ผ่านการประเมินนั้นมีผลทำให้สถาบันไม่สามารถเปิดรับนิสิตนักศึกษาในหลักสูตรนั้นในปีการศึกษา 2556 แต่จะไม่มีผลกระทบกับนิสิตนักศึกษาที่กำลังเรียนอยู่แล้ว
รองเลขาธิการ กกอ.กล่าวต่อไปว่า กกอ.ยังได้เห็นชอบ ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แต่ให้ปรับปรุงเล็กน้อยก่อนที่จะเสนอ รมว.ศึกษาธิการลงนาม และนำเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ต่อไป ทั้งนี้เชื่อว่าเมื่อกฎกระทรวงดังกล่าวมีผลใช้บังคับจะทำให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งมีคุณภาพมากขึ้น ส่วนสถาบันที่จัดไม่มีคุณภาพจะต้องปิดตัวไป ที่สำคัญการเปิดสอนนอกที่ตั้งจะไม่สามารถดำเนินการได้ง่ายเหมือนที่ผ่านมาอีกแล้ว
“สำหรับสาระสำคัญของร่างกฎกระทรวง คือ หากสถาบันอุดมศึกษาใดจะเปิดสอนนอกสถานที่ตั้งจะต้องขออนุญาตจาก รมว.ศึกษาธิการก่อนที่จะไปเปิดการเรียนการสอน หลักสูตรที่เปิดจะต้องเป็นความต้องการของสังคมและชุมชน รวมทั้งต้องเป็นหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ และต้องรับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในระดับดีมาก และสถาบันจะต้องมีการกำหนดระยะเวลาที่จะสิ้นสุดการดำเนินการ จำนวนอาจารย์ที่มีอยู่และจำนวนนิสิตนักศึกษาที่จะรับด้วย ซึ่งถ้าทำได้ตามนี้จะทำให้การศึกษานอกสถานที่ตั้งมีคุณภาพแน่นอน” รศ.นพ.กำจร กล่าว.
ระบบวงเวียนแทนสัญญาณไฟจราจร บริเวณห้าแยกหอนาฬิกาลำปาง

เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน

เพลง เถื่อนแห่งสถาบัน
เพลง เถื่อนแห่งสถาบัน

มีเหตุการณ์ที่ทำให้ผมนึกถึงกลอนบทนี้ ปีละ 4 ครั้งเป็นอย่างต่ำ
จึงแต่งกลอน ที่คล้าย ๆ กัน แต่เติมคำว่า “ไม่” เข้าไปอีกคำ
ผมว่าความหมายเปลี่ยนไปนิดนึงนะครับ

วรรคที่ปรับแก้โดย anonymous

ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง         จึงไม่ คิดหา ความหมาย
ไม่หวัง เก็บอะไร ไปมากมาย         สุดท้ายขอกระดาษฉันแผ่นเดียว

??? มีคำถามว่า กลอน 2 ตอนนี้ ..  มีอะไรที่ต่างกัน ???

—————————————————————

ข้อมูลจาก wikipedia.org

เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน หรือที่นิยมเรียกว่า ฉันจึงมาหาความหมาย
เป็นกลอนที่มีชื่อเสียงชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา “หัวก้าวหน้า” ยุคก่อนและหลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้องประชาธิปไตย ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 เนื้อหาของกลอนสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของนักศึกษาคนหนึ่ง ซึ่งตั้งคำถามเชิงเสียดสีเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษาในมหาวิทยาลัย

วรรคทองที่ติดปากที่สุดของกลอนนี้ [ใครกล่าว?] และเป็นที่มาของชื่อที่เป็นที่นิยม คือ วรรคที่ว่า:

ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง         ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย         สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว

กลอนชิ้นนี้แต่งโดย วิทยากร เชียงกูล เมื่อสมัยยังเป็นนักศึกษาอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่งขึ้นสำหรับ วันสถาปนาธรรมศาสตร์ ใน พ.ศ. 2511 ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ยูงทอง เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2511 และถูกตีพิมพ์อีกครั้งหนึ่ง ในหนังสือชื่อ “ฉันจึงมาหาความหมาย” ซึ่งเป็นการรวบรวมผลงานจำพวกบทกวีของวิทยากรในช่วงสมัยที่ยังศึกษาอยู่และช่วงที่เพิ่งจบ

กลอนทั้งหมด

ดอกหาง นกยูง สีแดงฉาน         บานอยู่ เต็มฟาก สวรรค์
คนเดิน ผ่านไป มากัน         เขาด้น ดั้นหา สิ่งใด
ปัญญา มีขาย ที่นี่หรือ         จะแย่ง ซื้อได้ ที่ไหน
อย่างที่โก้ หรูหรา ราคา เท่าใด         จะให้พ่อ ขายนา มาแลกเอา
ฉันมา ฉันเห็น ฉันแพ้         ยินแต่ เสียงด่า ว่าโง่เง่า
เพลงที่นี่ ไม่หวาน เหมือนบ้านเรา         ใครไม่เข้า ถึงพอ เขาเยาะเย้ย
นี่จะให้ อะไร กันบ้างไหม         มหาวิทยาลัย ใหญ่ โตเหวย
แม้นท่าน มิอาจให้ อะไรเลย         วานนิ่งเฉย อย่าบ่น อย่าโวยวาย
ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง         ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย         สุดท้าย ให้กระดาษ ฉันแผ่นเดียว
มืดจริงหนอ สถาบัน อันกว้างขวาง         ปล่อยฉัน อ้างว้าง ขับเคี่ยว
เดินหา ซื้อปัญญา จนหน้าเซียว         เทียวมา เทียวไป ไม่รู้วัน
ดอกหางนกยูง สีแดงฉาน         บานอยู่ เต็มฟาก สวรรค์
เกินพอ ให้เจ้า แบ่งปัน         จงเก็บกัน อย่าเดิน ผ่านเลยไป

http://th.wikipedia.org/wiki/

http://www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=187

introduce yourself

Part 1 : Myself & family
My name is Burin Rujjanapan.
I was born in 1969, in Lampang Province.
My parents were both born in Lampang too.
I am forty-three years old.
I live in Muban Kluaymai, Tambon Bouhaew,
Amphoe Muang, Lampang province.
I graduated from
Assumption Lampang school,
Bunyawat school,
Yonok college and Assumption university.
I have three girl children and one wife.
I love them very much.

Part 2 : Career & hobby
I am a thai teacher in Nation University.
I started my work at Nation University in 1992.
I teach about programming and information technology.
I am director of information technology.
My office is on the third floor in this building.

Part 3 : Interested
I play all kinds of games.
I play football with my friends every day.
Football is a very interesting game.
I play swim with my wife on holiday.
I play windsurf with my children every summer.

Part 4 : Friends
My friends are of many races.
Some are Chinese, some are Indonesia,
some are Malaysian and some are Burma.
I like my friends very much.
I am indeed a very happy boy.
I hope that I shall always be happy.

Part 5 : Wish
When I grow up I wish to be a teacher.
If I become a teacher, I can teach hundreds of boys and girls.
I can help them to read and write and become cleverer.
At the same time, I too can learn many more things.
I hope that I will get my wish.
http://www.thaiall.com/moodle
http://soundcloud.com/thaiall/introduce-myself


About yourself
I am an Indian boy. My name is Sanjay. I am fourteen years old. I live in the town of Klang.
I have three sisters and two brothers. My sisters are older than I am. My brothers are younger than I. they all go to school. My father is a teacher. He is not very old. My mother works at home. She is a very nice lady. I love her very much.
I go to a school in the town. It is a large school. I learn many lessons in school, such as English, Bahasa Malaysia and many others. Of all these lessons I find English is the most difficult to learn. But I enjoy learning English. It is a beautiful and important language.
I play all kinds of games. The game I like most is football. I play football with my friends every day. Football is a very interesting game.
When I grow up I wish to be a teacher. If I become a teacher, I can teach hundreds of boys and girls. I can help them to read and write and become cleverer. At the same time, I too can learn many more things. I hope that I will get my wish.
My friends are of many races. Some are Chinese, some are Malaysian and some are Indian. I like my friends very much. I am indeed a very happy boy. I hope that I shall always be happy.
http://language123.blogspot.com/2008/06/introduce-yourself.html


How to Introduce Yourself in English
Step1: Introduce your name/surname
– Begin with greeting first and then mention in your name/surname
Step2: Describe your educational background
– Please describe in detail your educational background, degree earned, period of study and major.
Step3: Describe your competency
– Present your major strengths, personal skills and what you have accomplished.
Step4: Describe your prospective career
– Explain more details about your future plans and what you are looking for.
Step5: Describe your hobby
– Briefly tell them about your life style and what you are interesting in.
http://www.adecco.co.th/jobs/adecco-knowledge-center-detail.aspx?id=553&c=1


How to Introduce Yourself in English for Sales Jobs
Step1: Profession
– State your professional identity in the present tense
Step2: Expertise
– State the competencies and skills that qualify you for that kind of work
Step3: Types of Organizations
– Summarize the environments or organizations in which you have worked
Step4: Unique Strengths
– Articulate the qualities that help you stand out from others in your field
http://www.adecco.co.th/employers/adecco-thought-leadership-detail.aspx?id=955&c=8

อุดมศึกษากับการพัฒนาประเทศไทย ที่เชียงใหม่

นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย (70 ปี)
นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย (70 ปี)

23 มี.ค.55 ไปร่วมงานประชุมสัมมนา “อุดมศึกษากับการพัฒนาประเทศไทย
ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ เชียงใหม่ แกรนด์วิว โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว จ.เชียงใหม่
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย กล่าวเปิดงาน และบรรยายหัวข้อ บทบาทสถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนาชาติ
แล้วท่านฝากให้ระวังปีศาจ 2 ตัวคือ 1. วัตถุนิยม 2. บริโภคนิยม
แล้ว ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บรรยายพิเศษเรื่อง เป้าหมายของการศึกษาคือการสร้างอุปนิสัย
แล้ว อาจารย์จุฑารัตน์ บวรสิน โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่ บรรยายพิเศษเรื่อง เทคนิคการสอนสอดแทรกเพื่อพัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงค์

ช่วงบ่ายก็แยกกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม

กลุ่มแรก : เทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ดำเนินรายการโดย อาจารย์ นายแพทย์ ศิวัฒม์ ภู่ริยะพันธ์
กลุ่มสอง : กลยุทธ์การจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมความสำคัญของทุกหลักสูตร
ดำเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ รณภพ เอื้อพันธเศรษฐ

กลุ่มที่สองมีอาจารย์นำเสนอ 3 ท่านคือ
1. อ.อุบล พิรุณสาร ภาควิชากายภาพบำกัด คณะเทคนิคการแพทย์ ม.เชียงใหม่
เล่าถึงโครงการ ส่งเสริมเมล็ดพันธุ์แห่งความดี และการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษากายภาพบำบัดเชียงใหม่
2. ผศ.อัศวินีย์ หวานจริง คณะวิจิตรศิลป์ ม.เชียงใหม่
เล่าถึงกระบวนวิชา การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม
3. ดร.วิติยา ปิดตังนาโพธิ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เล่าเรื่อง กลยุทธ์การจัดกระบวนการเรียนรู้ ผ่าน 5 รูปแบบกิจกรรม 5 กรณีศึกษา
1) play 2) Post it together 3) Role Plays 4) Community classroom 5) Fieldwork study

แล้วกลับมารวมกันที่ห้องรวม ฟังผลงานวิจัย 4 เรื่อง

1. ผศ.ดร.วีระพันธ์ รังสีวิจิตรประภา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลงานเรื่อง บทบาทของการศึกษาทั่วไปในการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ.กิตติภูมิ มีประดิษฐ์ ม.ศรีปทุม
ผลงานเรื่อง การบูรณาการแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงผ่านรายวิชาศึกษาทั่วไป
กรณีศึกษารายวิชา “เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
3. อ.อาพัทธ์ เตียวตระกูล ม.นเรศวร
ผลของการใช้การจัดการเรียนการสอนแนวจิตตปัญญาศึกษา ในรายวิชา 001161 บาสเกตบอล ที่มีผลสัมฤทธิ์ในเชิงจิตตปัญญา
4. ผศ.ดร.อัญชลี วงศ์หล้า อ.เมทินี ทนงกิจ ม.นอร์ท-เชียงใหม่
ผลงานเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนวิชาการศึกษาในระดับอุดมศึกษา กับ อัตราการออกกลางคันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
http://www.eqd.cmu.ac.th/HETDSeminar/default.asp
http://www.facebook.com/media/set/?set=a.10150678325012272.411159.350024507271

เริ่มต้นกับซีรี่รวมมิตรคอมพิวเตอร์

15 ก.พ.55 ผู้ใหญ่ให้นโยบายว่า ควรทำคลิ๊ปวีดีโอช่วยสอนในแบบซีรี่ (series) ที่สอนในแต่ละหัวข้อ แบบแบ่งตอนเรียน ให้เพื่อนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง (ตามหลักพรหมวิหาร 4 คือ เมตตาแปลว่าอยากให้เพื่อนเป็นสุข) และพูดถึงโปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ และเสียงจากอุปกรณ์รับเสียง ทั้ง camtasia หรือ camstudio ถ้าต้องการบันทึกหน้าจอจาก powerpoint หรือ screen capture พบว่า โปรแกรม camstudio เป็น opensource ที่สามารถ dowload มาใช้ได้ฟรี ก็เพียงพอแก่การใช้งานแล้ว  แต่ถ้าต้องการบันทึกหน้าจอ และซ้อนเสียงแบบมืออาชีพก็คงต้องใช้ camtasia ส่วนโปรแกรม Jing นั้นก็คล้ายกับ camtasia คือ มีจำหน่ายสำหรับมืออาชีพ แต่มีรุ่นทดลองใช้ที่ดาวน์โหลดได้

วันนี้เป็นครั้งแรกสำหรับการเริ่มต้นซีรี่ด้านคอมพิวเตอร์ ผมบันทึกเรื่อง “ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์” ที่บ้าน แล้วบันทึกในแฟ้ม .avi(only one) แล้วใช้ total video converter แปลงเป็น .mp4 เพื่อลดขนาดจาก hd แบบ avi เป็น mp4 สำหรับการ upload เข้า youtube.com ซึ่งลดได้เกือบ 10 เท่าทีเดียว .. สำหรับคลิ๊ปที่บันทึกแล้ว ผมไม่ได้นำมาตัดต่อเติมหัวท้ายในตอนแรก เพราะต้องการให้เป็น source file หากต้องการนำไปรวมเป็นชุดในภายหลังก็จะง่าย ต่างกับคลิ๊ปที่เคยทำก่อนหน้านี้ที่จะมีหัวท้าย และจบในตัว ดังนั้นคลิ๊ปซีรี่เหล่านี้จะเริ่มและจบแบบห้วน ๆ เลยครับ

http://www.software.co.th/productdetail.asp?id=13917 (จำหน่ายในประเทศ)
http://www.techsmith.com/camtasia.html
http://www.tempf.com/audio-and-video/47-Total-Video-Converter-3.61.html
http://www.techsmith.com/jing.html
http://www.4shared.com/video/_Yg2jVzH/computer_evolution.html
http://www.thaiall.com/vdoteach

camstudio
camstudio

http://camstudio.org

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

TECH 100 สื่อและเทคโนโลยี (Media and Technology) 2(1-2-4)
ศึกษาแนวคิดพื้นฐานของเทคโนโลยีและสื่อรูปแบบใหม่ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย การสืบค้นข้อมูล เครือข่ายสังคม โปรแกรมประยุกต์สำนักงาน การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ความปลอดภัย คุณธรรม จริยธรรมของผู้ใช้คอมพิวเตอร์

MATH 100 กิจกรรมประจำวันกับตรรกเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Logic in daily Activity) 2(2-0-4)
ศึกษาระบบจำนวนจริง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์และการแก้ปัญหา การคำนวณกับกิจกรรมประจำวัน ตรรกศาสตร์และการประยุกต์ใช้ ข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อการตัดสินใจ

SCIE 100 สิ่งแวดล้อมกับชีวิต (Environment and Life) 2(2-0-4)
ศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน และการประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับบุคคล ท้องถิ่นและสากล

topic
– fundamental of technology
– new media
– computer system
– network system
– searching
– social network
– social media
*
– office application
– multimedia creating
– security
– Moral and Ethics

บิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย

king of higher education
king of higher education

รศ.กำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนังสือ ศธ 0575/ว1528 ถึงสถาบันอุดมศึกษาไทยทุกแห่ง เรื่อง “ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์การเข้าใช้งานหน้าจอเว็บไซต์ ก่อนเข้าสู่หน้าจอปกติในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย เนื่องในวโรกาสการเฉลิมฉลองครบรอบ 120 ปี แห่งวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชนก” เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระสมัญญาแด่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชนก ว่า “บิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย” โดยขึ้นมาก่อนหน้าจอปกติตั้งแต่ 1 – 31 มกราคม 2555 ซึ่งมีหลายมหาวิทยาลัยให้ความร่วมมือแล้ว อาทิ nation-u.com ku.ac.th ru.ac.th