การแบ่งปันในเครือข่ายสังคมมีแรงขับจากอัตตา (ego)

New research highlights that social sharing is driven by ego
Summary: ทำไมเราแบ่งปันลิงค์ไปบนเว็บสังคมที่เพื่อนของเราไม่เห็นจะสนใจ แล้วทำไมเรื่องแฟชั่นถึงมีการคลิ๊กกว่าเรื่องธุรกิจนะWhy do we share links on social sites that our friends are not particularly interested in? And why do articles about fashion get a higher percentage of clicks than articles on business?
By Eileen Brown for Social Business
April 12, 2013 — 09:59 GMT (17:59 SGT)
We feel compelled (บังคับ) to share information across our social channels when we find it on the web. But what are our motivations for doing this?
33Across which specialises in social sharing and content discovery has been examining our behaviour online. It has released research from its Tynt publisher solution to examine online sharing behaviour by consumers around the world.
Just like its report on advertising on Facebook post IPO (Initial Public Offering) the research brings up some interesting findings. 33Across examined 450 of its largest publishers across 24 content categories.
Publishers need to move beyond analyzing which content is most frequently shared and also consider the rate at which people click on shared links“.
It calculated sharing rate by dividing the number of shares by the number of page views for a given site. This normalized the data to provide an apples-to-apples comparison across categories.
Click back rate is calculated by dividing the number of clicks on all shared links for a web site by the number of total shares for the web site.
For example, if site xyz.com has 1,000 total shares and 500 clicks on the shared links, then the click back rate would be 50%.
The raw data comes from the Tynt service and is available through the company’s internal data portal where they have access to account-level information. The sites were manually categorized and data rolled up by category.
The research highlights some interesting behavior.
การแบ่งปัน และคลิ๊กกลับ
การแบ่งปัน และคลิ๊กกลับ
Obviously we do not share everything we read. Some topics warrant a higher sharing rate per page view than other topics. Science articles score highly. For every 100 science related articles we read, we are likely to share 12 of them with our friends or connections.
Conversely for every 100 articles relating to men’s health, fitness or relationships, we are likely to share only one article with our friends.
But what do your friends actually read? Are they more likely to read something just because you have shared it? Apparently not.
Stories with a high percentage of shares, such as science stories (11.8 per cent) have a low percentage of clicks (9 per cent). Stories with a low percentage of shares such as men’s health (1.1 per cent) have a high percentage of clicks (47 per cent).
So we are sharing highbrow topic stories that our friends just do not read. So why is that?
เป็นสมมติฐานที่น่าสนใจมาก
I might decide to share a science based article on a topic that I hardly understand with my connections. I am sharing this content because I want to be identified with specific topics that showcase just how much I know about the topic.

33Across.com call this ‘ego sharing’. It enhances my personal brand amongst my connections.
Alternatively I might share an article on parenting (การอบรมเลี้ยงดู) or consumer technology (เทคโนโลยีของผู้บริโภค). These practical articles help my connections with how-to advice. These types of articles are more likely to be clicked upon by my connections as there is practical value to them.
This is ‘practical sharing’ (การแบ่งปันที่ปฏิบัติได้จริง) according to 33Across.
Entertainment and celebrity content is less pro-actively (เชิงรุกน้อย) shared from the original web sites. Perhaps we do not want to admit that we avidly (กระหาย) consume celebrity gossip stories. However, once the content is released on social media, then the click through rates are really high.
This is called ‘water-cooler sharing‘.
The highest click rates are for news. 86 per cent of consumers click these links. But under 2 per cent of us share the links initially. Our motivation for sharing news is partially due to ego sharing and partially due to our desire to break the news to our friends.
We want to share to inform others about breaking news. Consumers are interested in the always on news cycle and click rates are high.
But the highest level of social engagement in the news category was for MailOnline, the digital sister of the Daily Mail, instrument of Paris Brown’s demise.
MailOnline has grown to become the #1 news and entertainment site in the world in part due to readers discovering our content through social sharing,” said Sean O’Neal, Global CMO of MailOnline.
Tynt’s category findings validate the extremely high social engagement that we observe every day with our readership.
Copying and pasting publisher content is how 82 per cent of online sharing begins,” stated Greg Levitt, GM of Publisher Solutions for 33Across.
As our category findings reveal, publishers need to move beyond analyzing which content is most frequently shared and also consider the rate at which people click on shared links.
Dispelling (การพัดกระจาย) myths (ตำนาน) about content consumption behavior while shedding (การไหล) light on the real motivations of readers is yet another way Tynt is helping publishers improve user acquisition (เข้ายึด) and retention (รักษา)  from social channels.
The research was carried out (ดำเนินการ) by 33Across for sites that are use the Tynt service, and it discovered that sites using its CopyPaste and SpeedShare features increased the number of shares and click backs compared to sites that were not using those tools.
Our own ego is driving us to share items that improve our social standing amongst our friends and connections and we hesitate to share items that might not make us look good.
So the deluge (เจิ่งนอง) of content containing pictures of kittens (ลูกแมว) and puppies (ลูกหมา) is not to improve our status amongst our friends but could simply be for the ‘Aww’ (ทุกคน) factor it gives them.

สังคมเสื่อมเพราะคนมีคม ตัวอย่างจาก 2 คน 2 คม

4 ธ.ค.52 ภาพยนต์เรื่อง 2 คน 2 คม ที่มีตัวตนจริงในสังคมใดย่อมหมายถึงความเสื่อมที่ซ่อนบ่มใน สังคมนั้น 1)คมหนึ่งที่ดูภายนอกเป็นคนดี แต่อันที่จริงเป็นคนร้าย คอยทำลายสังคมที่สงบให้ปั่นป่วน 2)คมที่สองที่ดูภายนอกเป็นคนร้าย แต่ก็พยายามทำสิ่งดีเพื่อสังคม หวังว่าสังคมจะสงบสุขและน่าอยู่ อันที่จริงคนทั้งสองต่างมีอัตตา มีความมุ่งมั่นในวิถีการดำรงชีวิตของตน เป็นธรรมดาของโลกและของทุกสังคมที่มีคนหลายประเภท ดังนั้นทุกประเทศต้องมีตำรวจ และทหาร เพื่อรักษาความสงบไม่ให้คมที่อยู่ในตัวคนออกมาแสดงบทบาทเชือดเฉือนคนรอบตัวจนเกินพอดี วันใดคนมีคมสองคนที่มีความเห็นไม่ลงรอยกัน ขัดผลประโยชน์ ขัดหูขัดตา ย่อมเกิดโทสะทำให้สังคมลุกเป็นไฟ และคนในสังคมนั้นก็จะไม่สงบสุขอย่างเช่น เสื้อเหลือง เสื้อแดง
     ผลประโยชน์ของสังคมส่วนรวม กลายเป็นเรื่องรอง ถ้าคนสองคมมาเผชิญหน้ากัน ถ้าคมหนึ่งเป็นผู้มีอำนาจในบางเรื่อง แต่ไม่ใช้เหตุผลเป็นฐานคิด อาจเลือกปฏิบัติไปในทางที่ทำให้สังคมเสื่อมเสีย เพราะมองเห็นอีกคมหนึ่งเป็นศัตรู ไม่ต้องการความช่วยเหลือ ไม่ต้องการเสวนาด้วย เหมือนทหารที่พยายามดับเพลิงด้วยปาก โดยไม่ขอความช่วยเหลือจากพนักงานดับเพลิงที่มีน้ำอยู่เต็มคันรถ แล้วทุกคนก็ยืนดูเพลิงเผาผลาญทุกอย่างให้วอดวายไปอย่างน่าเสียดาย  ตามประสา “คนเชียร์มวย” ที่มีความสุขที่เห็นผู้ประทะกันอย่างมีความสุข
     ถ้าอีกคมหนึ่งมีทรัพยากรที่สังคมต้องการไว้ในครอบครอง แต่ไม่ถูกร้องขอจาก ผู้ควบคุม อย่างเช่นพนักงานดับเพลิงที่ไม่อาจเข้าไปดับเพลิงในค่ายทหาร เพราะไม่ได้รับอนุญาตไม่ว่ากรณีใด ถ้าเข้าไปเป็นเจอคุก นายทหารอาจยึดกฎ ยึดหลักการของตนอย่างไม่สมเหตุสมผล ก็เป็นอภิสิทธิ์ที่พวกเขากระทำได้ แต่ผลสุดท้ายค่ายทหาร และชุมชนรอบค่าย ครอบครัวทหาร ก็จะได้รับผลกระทบกันไปหมด และในจำนวนนั้นก็อาจมีญาติพี่น้องของพนักงานดับเพลิงรวมอยู่ ปัญหาทั้งหมดเกิดเพียงเพราะผู้บังคับบัญชาค่ายทหารมีอัตตาไม่ลงรอยกับผู้อำนวยการสำนักดับเพลิง และพนักงานดับเพลิงก็กลัวคุก ถ้าทุกคนยึดมั่นในประโยชน์สูงสุดของสังคมแล้ว สังคมที่เราอยู่ก็คงจะเป็นสุข .. นี่คือเรื่องเล่าที่เรียนรู้มาจากภาพยนต์

อุบายลวงจิตลดโทษะต่ออัตตาในมนุษย์

12 ต.ค.52 เพื่อนในองค์กรหนึ่งโทรมาระบาย เรื่องความมีอัตตาในตัวมนุษย์ เขารู้สึกไม่สบายใจเมื่อถูกมนุษย์ด้วยกันแสดงตนว่าเหนือกว่า ด้วยการยกตนข่มท่าน แสดงตนว่าเหนือกว่าด้วยคุณวุฒิ วัยวุฒิ หรือบุญคุณ เหมือนคนไทยที่ยึดมั่นถือมั่นในอำนาจ ความรู้ วัยวุฒิและศักดิ์ศรี ผมก็เลยอาศัยคำพระว่า “คนทุกคนเกิดมา ไม่ได้พกอะไรมา ตอนไปก็ไม่พกอะไรไป แต่ตอนอยู่ กลับทำตัวว่ามีอะไรซะมากมาย” และ “มนุษย์ยังมีกิเลสยังไม่รู้จักพอเพียง” อีกคำที่พระหลายรูปท่านชอบเปรียบเปรยว่ามนุษย์ไม่ใช่สัตว์ประเสริฐเสมอไป ฟังพระท่านด่าว่าเป็นสัตว์เดรัชฉานอยู่บ่อยครั้ง เช่น “อย่ากินเหล้าแล้วเมาเหมือนหมา อย่าดีแต่เห่า สีซอให้ควายฟัง” ผมก็ชักคล้อยตาม เหมือนดูละครทีวีบ่อย ๆ ก็มักจินตนาการไปว่าตนเองเป็นพระเอกอยู่ร่ำไป แต่นี่พระท่านสอนโดยเปรียบเปรย ว่าผมเป็นสัตว์เดรัชฉานแล้วนี่ผมก็ต้องจินตนาการไปตามนั้นแล้วสิ
     กลับมาพูดถึง การให้คติเตือนใจเพื่อนคนนั้นว่า มนุษย์เราเกิดมามักอยู่ไม่ถึง 100 ปี เกิดมาต้องตายกันทุกคน ยับยั้งกิเลสในตน ทำจิตให้สงบ ลดอัตตา ลดศักดิ์ศรี ต้องรู้จักให้อภัย แล้วนึกซะว่า “คนที่มีอัตตาก็เป็นเพียงสัตว์เดรัชฉาน เป็นเพียงหมาตัวหนึ่งเห่าบ๊อกบ็อกน่ารักจะตาย” เราก็จะสบายใจแล้วให้อภัยเขา หรือไม่ก็นึกซะว่า “เขาคือปลาตัวมื้อเย็นนี้จะกลับไปทุกหัวแล้วทอดเป็นอาหารเย็น จิตที่หมกมุ่นกับความหม่นหมองก็น่าจะปลอดโปร่งขึ้นได้” เพราะถ้าไม่อภัยแล้วไปทำร้ายเขาด้วยบันดาลโทสะ ก็อาจติดคุกติดตาราง .. ไม่คุ้มกับความเป็นผู้มีบุญได้เกิดมาเป็นสัตว์ผู้ประเสริฐครั้งหนึ่งบนโลกนี้ .. ก็หวังแต่ว่าเพื่อนทางโทรศัพท์ผู้นั้นจะเข้าใจ

.. ลอกมาจากที่ไหนก็จำไม่ได้แล้ว ขออภัยที่ไม่ได้เขียนแหล่งอ้างอิงไว้

กิเลสและอัตตาในตัวเรา .. ที่น่ารังเกียจ

28 ก.ย.52 น่าแปลกมาก ที่ใครต่อใคร เช่น เสื้อแดง เสื้อเหลือ นักการเมือง คนในหนังสือพิมพ์ ดาราเซ็กซี่ มักพูดถึง หรือถูกเล่าในเรื่องราวความผิดของคนอื่น นินทา ให้ร้ายด้วยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จริงบ้าง ไม่จริงบ้าง ใช้ฐานคิดของตนเองเป็นหลัก เป็นเรื่องไม่น่ารื่นรมอย่างยิ่ง แต่จิตใต้สำนึกของผมกลับรู้สึกสนุกไปกับความวุ่นวายภายนอก เท่ากับขาดอุเบกขา ที่ไม่อาจวางเฉยหรือทำตัวเป็นกลาง ทุกครั้งที่อยู่คนเดียวและจิตว่าง ก็จะนึกทบทวนกิจกรรมของมนุษย์จนเผลอรู้สึกรังเกียจ และขยะแขยงความเป็นมนุษย์ของตนเองก็หลายครั้ง อาทิ 1)รู้ว่าตนเอง ยังมีความรัก โลภ โกรธ หลง เห็นพฤติกรรมของดาราสาวเป็นเรื่องไม่สมควร แต่แก้ไขอะไรไม่ได้ 2)แก้ไขสัจธรรมที่ว่าตนเองต้องตายไม่ได้ ยังทำใจไม่ได้ เกี่ยวกับชีวิตหลังความตาย 3)มองเห็นความไม่รู้จักสงบในผู้สูงอายุรอบตัว เช่นคนในครอบครัว เมื่อผมชวนเข้าวัด “ก็บอกว่า ไปทำไม ไปแล้วได้อะไร” 4)ส่วนตัวผมก็ยังลดการอุปโภคและบริโภคเป็น 0 ไม่ได้สักที แค่ลดลงคนรอบข้างก็มองผมเป็นสัตว์ประหลาดไปแล้ว .. รำพึงรำพัน