กลุ่มซิกเซนต์ ที่ปลุกให้กลับมาพัฒนาโมบายแอปอีกครั้ง


วันนี้ 29 สิงหาคม 2564 ครบกำหนดเวลาที่นิสิตปี 1 มหาวิทยาลัยเนชั่น ส่งผลงานเขียนบล็อก เพื่อร้องเรียงเรื่องราวบอกเล่าสั้น ๆ โดยใช้ภาพประกอบ มาลำดับความคิด เหตุการณ์ หรือช่วงเวลา ที่เลือกเขียนได้ทั้งแนวลึก และแนวกว้าง เมื่อได้อ่านผลงานแล้วรู้สึกสนุก นิสิตบอกเล่าถึงความสุขเกี่ยวกับชีวิตวัยรุ่น ที่เปลี่ยนผ่านจากเยาวชนตัวน้อยในครอบครัวสู่ความเป็นผู้ใหญ่ สู่ชีวิตนิสิตในรั้วมหาวิทยาลัย เล่าได้ดีโดยใช้ภาพเป็น Milestone ในแต่ละย่อหน้า เพราะภาพหนึ่งภาพแทนคำพูดนับพันคำ ทำให้นิสิตสรรหาภาพที่ชื่นชอบในอดีตมาประกอบการเล่าเรื่องได้อย่างมีความสุข ร้อยเรียงเป็นเรื่องราวน่าอ่าน มีที่มา ที่เป็นอยู่ และที่เป็นไป ฝึกทักษะการสื่อสารผ่านการเขียน รอบต่อไปก็จะฝึกทักษะการพูด และบันทึกคลิปออกสื่อกัน หวังว่าจะพัฒนาทักษะการเขียน แล้วใช้ทักษะการเขียนไปเขียนตอบข้อสอบต่อไป ชวนอ่านผลงานของ วรรณศาสน์ มณีรัมย์ เลิศฤดี พลคำมาก หรือ วัชราพร เพื่อนสงคราม

https://www.moveoapps.com/blog/wp-content/uploads/2020/07/best-programming-languages-for-mobile-app-development.png


กลับมานึกถึง นิสิตรุ่นพี่ปี 4 สายเดฟ ผมตั้งชื่อว่า Six Sense ไม่ใช่ The Sixth Sense ที่เป็นชื่อภาพยนตร์ที่แสดงนำโดย Bruce Wills แต่ Six มาจาก จำนวน ไม่ใช่ Sixth ที่มาจากคำว่า ลำดับที่ ตั้งชื่อว่า ซิกเซนต์#1 ประกอบด้วย หวาน แพรว ฟลุ๊ค เฟิร์น นน ฝน ซิกเซนต์#2 ประกอบด้วย คอม หนึ่ง นิค มิ้ม แบล็ค วิว เพราะนิสิตทั้งสองรุ่น อ.แนน อ.นุ้ย อ.เชพ ผู้สอน และศิษย์พี่ที่รับศิษย์น้องไปทำงานตรงสาย ต่างเสมือนเป็นแรงผลักดันต่างกรรมต่างวาระ ทำให้ผมกลับมาสนใจการพัฒนาโมบายแอปด้วยเครื่องมือใหม่อีกครั้ง จากที่เริ่มพัฒนาเว็บแอป มาตั้งแต่ 2541 ก่อนหน้านี้เคยสนใจ Android Studio แต่อุปกรณ์ไม่พร้อมสนับสนุนการพัฒนา แล้วปัจจุบัน 2564 ได้พี่เปรม และพี่เบนซ์ มาช่วยทำให้อุปกรณ์ของผมพร้อมขึ้น และตัวเครื่องมือพัฒนาได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ ขึ้น จึงเริ่มกลับมาสนใจการพัฒนาโมบายแอป ด้วย React Native บน Android SDK และถือเป็นเวลาที่ต้องกลับไปซ่อมแซมโมบายแอป ที่เคยใช้ webview หรือแอปเก่ามีปัญหาที่ไม่ สอดคล้องกับเงื่อนไขใหม่ของ Play Store จนเป็นผลให้ Google play store ลบแอปออก เนื่องจากเวลาผ่านไปเงื่อนไขก็เปลี่ยนตาม (lpmuseum2) โดยเฉพาะคำว่า deprecated หมายถึง การยุติฟังก์ชัน โมดูล หรือไลบรารี่ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ที่ประกาศยุติอยู่เสมอในทุก เครื่องมือ ทำให้ต้องกลับไปรื้อแอปเก่า นำมาเข้าคิว เพื่อพัฒนาใหม่อีกหลายตัว


กลับมาชวนมองกระแส React Native พบว่า แนวโน้มการใช้เครื่องมือพัฒนาโมบายแอพในปัจจุบัน กลุ่มนักพัฒนาโมบายแอปในดาวเคราะห์สีน้ำเงินนี้ เลือกใช้ React Native ที่พัฒนาขึ้นโดย Facebook และเป็น Cross Platform ที่ส่งโค้ดไป compile บนตัวแปลภาษาในแต่ละอุปกรณ์ทำให้ใช้ฟังก์ชันได้ทุกตัว อาทิ Andriod หรือ iOS จึงเรียกว่า Native language จากบล็อกที่เขียนโดย Sophia Martin เขียน 14 ก.ย.2562 ระบุว่า เครื่องมือมาแรงมี 3 ตัว คือ Flutter , React Native และ Xamarin ส่วน Hirar Atha เขียน 23 ก.ค.63 นำเสนอ 6 Best programming languages ประกอบด้วย Android = 1) Java, 2) Kotlin ส่วน iOS = 3) Swift, 4) Objective-C ส่วน Cross Platform = 5) React Native, 6) Flutter แล้วคุณ Hirar Atha ยังเล่าว่า โดยเฉลี่ยแล้วผู้ใช้สมาร์ทโฟนอยู่กับอุปกรณ์ 2 ชั่วโมง 55 นาทีทุกวันเมื่อปี 2562 ซึ่งนานกว่าดูทีวีหรืออุปกรณ์อื่นใด มีร้อยละ 90 ใช้เวลาในแอปพลิเคชัน ซึ่งชัดเจนว่า Mobile apps คือ สื่อดิจิทัลที่ลูกค้าเกาะติดเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุด ผู้ใช้สมาร์ทโฟนเฉลี่ยแล้วมี 80 แอปพลิเคชัน และใช้อย่างน้อย 40 แอปพลิเคชันทุกเดือน

https://www.thaiall.com/reactnative/

หมวกคิดแบบหมวก 6 ใบ (Six Thinking Hats)

Six Thinking Hats‘ is an important and powerful technique. It is used to look at decisions from a number of important perspectives (มุมมอง). This forces you to move outside your habitual thinking style, and helps you to get a more rounded view of a situation.

This tool was created by Edward de Bono in his book ‘6 Thinking Hats‘.

นักศึกษาที่ชื่อ น.ส.ศัลณ์ษิกา ไชยกุล ช่วยแปลจากคลิ๊ปให้
The Blue Hat
– What is our agenda?
วาระการประชุมของพวกเราคืออะไร
– What our next step and next hat?
หมวกต่อไปและก้าวต่อไปของพวกเราคืออะไร
– What is our decision?
การตัดสินใจของพวกเราคืออะไร

The White Hat
– What information is available?
ข้อมูลที่สามารถใช้ได้คืออะไร
– What information would we like and what do we need?
ข้อมูลอะไรที่ใช้ได้ และอะไรที่เราต้องการเพิ่ม
– How are we going to get the missing information?
พวกเราต้องทำอย่างไรเพื่อให้ได้รับข้อมูลที่สูญหายไป

The Yellow Hat
– What are the benefits?
ผลประโยชน์คืออะไร
– What are the positives and the values?
คุณค่า และการคิดบวกคืออะไร
– Is there a concept in the idea that makes it attractive?
พอจะมีความคิดอะไรในแนวคิดที่น่าสนใจหรือไม่

The Black Hat
– What could be the potential problems?
ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้คืออะไร
– What could some at the difficulties be?
มีอะไรบ้างที่เป็นอุปสรรคหรือทำได้ยาก
– What are the points of caution and risk?
จุดที่ควรระมัดระวังและมีความเสี่ยงคืออะไร

The Green Hat
– Are there other ways that this can be done?
มีทางอื่นที่สามารถทำได้หรือไม่
– What else can be done?
มีอะไรที่ทำได้อีกบ้าง
– What will overcome our difficulties?
อะไรคือสิ่งที่จะเอาชนะอุปสรรคของพวกเรา

The Red Hat
– What are my feelings now?
ตอนนี้ความรู้สึกของฉันคืออะไร
– What does my intuition tell me?
สัญชาตญาณของฉันบอกอะไร
– What’s my gut reaction?
ปฎิกิริยาที่มาจากภายในคืออะไร

Many successful people think from a very rational, positive viewpoint. This is part of the reason that they are successful. Often, though, they may fail to look at a problem from an emotional, intuitive, creative or negative viewpoint. This can mean that they underestimate resistance to plans, fail to make creative leaps and do not make essential contingency (ฉุกเฉิน) plans.

Similarly, pessimists (ผู้มองในแง่ร้าย) may be excessively defensive, and more emotional people may fail to look at decisions calmly and rationally.

If you look at a problem with the ‘Six Thinking Hats’ technique, then you will solve it using all approaches. Your decisions and plans will mix ambition (ความใฝ่ฝัน), skill in execution, public sensitivity, creativity and good contingency (ฉุกเฉิน) planning.

How to Use the Tool:
You can use Six Thinking Hats in meetings or on your own. In meetings it has the benefit of blocking the confrontations (การเผชิญหน้า) that happen when people with different thinking styles discuss the same problem.

Each ‘Thinking Hat‘ is a different style of thinking. These are explained below:

1. White Hat: ใช้ข้อมูลข่าวสาร
With this thinking hat you focus on the data available (ข้อมูลที่มี). Look at the information you have, and see what you can learn from it. Look for gaps in your knowledge, and either try to fill them or take account of them. This is where you analyze past trends, and try to extrapolate (คาดการณ์)  from historical data.

2. Red Hat: ใช้อารมณ์ความรู้สึก
‘Wearing’ the red hat, you look at problems using intuition (การหยั่งรู้ การรู้โดยสัญชาติญาณ), gut (ลำใส้) reaction , and emotion(อารมณ์). Also try to think how other people will react emotionally. Try to understand the responses of people who do not fully know your reasoning.

3. Black Hat: ใช้การตั้งคำถามหรือตั้งข้อสงสัยมุมลบ
Using black hat thinking, look at all the bad points of the decision. Look at it cautiously and defensively. Try to see why it might not work. This is important because it highlights the weak points in a plan. It allows you to eliminate them, alter them, or prepare contingency plans to counter them.
Black Hat thinking helps to make your plans ‘tougher(ยากขึ้น)’ and more resilient (ยืดหยุ่น). It can also help you to spot fatal flaws and risks before you embark (เริ่มดำเนินการ) on a course of action. Black Hat thinking is one of the real benefits of this technique, as many successful people get so used to thinking positively that often they cannot see problems in advance. This leaves them under-prepared for difficulties.

4. Yellow Hat: ใช้การมองในแง่ดี และมีความหวัง
The yellow hat helps you to think positively. It is the optimistic viewpoint that helps you to see all the benefits of the decision and the value in it. Yellow Hat thinking helps you to keep going when everything looks gloomy (มืดมน) and difficult.

5. Green Hat: ใช้การคิดอย่างสร้างสรรค์
The Green Hat stands for creativity. This is where you can develop creative solutions to a problem. It is a freewheeling way of thinking, in which there is little criticism of ideas. A whole range of creativity tools can help you here.

6. Blue Hat: ใช้การควบคุมความคิดทั้งหมดให้มองเห็นภาพรวมของการคิด
The Blue Hat stands for process control. This is the hat worn by people chairing meetings. When running into difficulties because ideas are running dry, they may direct activity into Green Hat thinking. When contingency plans are needed, they will ask for Black Hat thinking, etc.

A variant of this technique is to look at problems from the point of view of different professionals (e.g. doctors, architects, sales directors, etc.) or different customers.

http://www.mindtools.com/pages/article/newTED_07.htm
http://kittikoon.multiply.com/journal/item/47/47
http://www.debonogroup.com/six_thinking_hats.php
http://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=754

six hats
six hats

Using Six Thinking Hats®, team will learn how to:

* look at problems, decisions, and opportunities systematically
* use Parallel Thinking™ as a group or team to generate more, better ideas and solutions
* make meetings much shorter and more productive
* reduce conflict among team members or meeting participants
* stimulate innovation by generating more and better ideas quickly
* create dynamic, results oriented (มุ่งเน้น) meetings that make people want to participate
* go beyond the obvious to discover effective alternate solutions
* spot opportunities where others see only problems
* think clearly and objectively
* view problems from new and unusual angles
* make thorough evaluations
* see all sides of a situation
* keep egos and “turf (สนามหญ้า) protection” in check
* achieve (การทำให้สำเร็จ) significant and meaningful results