ระบบตรวจสอบการคัดลอกบทความทางวิชาการ turnitin

การขโมยความคิด (Plagiarism) คือ การคัดลอกผลงาน หรือการกระทำที่เข้าข่ายขโมยความคิดของผู้อื่น โดยไม่อ้างอิงอย่างถูกต้อง อาจเรียกว่า การโจรกรรมทางวิชาการ

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2555).
การคัดลอกผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย สิ่งพิมพ์ วิทยานิพนธ์ (Academic Plagiarism)
“ประเด็นที่เราควรตระหนัก”. สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2564. จาก https://www.grad.chula.ac.th/download/files/Plagiarism.pdf.

การสืบค้นผลงานจากอินเทอร์เน็ต
ที่ค้นจาก google.com หรือนำมาจาก wikipedia.org แล้วคัดลอก ไปวางในงานเอกสารของตน ที่นักเรียนมักคัดลอกผลงานจากอินเทอร์เน็ตส่งครู มักเรียกว่า Cyber-plagiarism

ประเภทการคัดลอกผลงาน พบว่ามี 3 ลักษณะ 1) Plagiarism คือ คัดลอกผลงานของคนอื่น 2) Self-plagiarism หรือ Duplication คือ คัดลอกผลงานของตนเอง 3) Co-submission คือ เขียนร่วมกันหลายคน แต่ระบุชื่อผู้เขียนคนเดียว
http://facstaff.swu.ac.th/..Ver2.pdf
https://en.wikipedia.org/..Plagiarism

turnitin ระบบตรวจสอบการคัดลอกบทความทางวิชาการ
turnitin ระบบตรวจสอบการคัดลอกบทความทางวิชาการ

โปรแกรม หรือระบบตรวจสอบการคัดลอกบทความทางวิชาการ
ปัจจุบันมีหลายระบบที่นิยมใช้ในไทย ซึ่งเป็นแบบไว้จำหน่าย
[ส่วนแบบที่ฟรี และดี ยังไม่พบ]

 

ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีดังนี้

1. โปรแกรม endnote
https://www.car.chula.ac.th/curef-db/logo/endnotex6.html
แต่ต้องมี password ของ Chula

2. โปรแกรม Turnitin
ที่ Mahidol กับ Chula ก็ใช้
http://www.si.mahidol.ac.th/../siturnitin/
Chula แนะนำ turnitin แต่ต้องลงทะเบียน ที่จุฬา
http://www.car.chula.ac.th/curef-db/
แล้วหา Plagiarism Prevention Tool: Turnitin & Accounts
http://www.turnitin.com/
http://www.med.cmu.ac.th/..slide.pdf

3. โปรแกรม Anti-kobpae
บริการผ่านเว็บไซต์ แบบทดลองใช้
https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/2945-anti-kobpae
ที่ ! http://www.anti-kobpae.in.th
อธิบายที่ http://www.it24hrs.com/

4. แบบมีค่าใช้จ่าย ของ Artistscope
ที่ http://th.artistscope.com/

– บริการสืบค้นการคัดลอกผลงานแบบออนไลน์
ทดสอบใช้บางบริการได้ เพราะบางบริการไม่มีค่าใช้จ่าย
+ http://smallseotools.com/plagiarism-checker/
+ http://www.dustball.com/cs/plagiarism.checker/
http://en.writecheck.com/home/
https://plagiarismcheck.org/
! plagiarism-detect.com

– งานวิจัย NCCIT
ระบบสนับสนุนการตรวจสอบการคัดลอกข้อความ
(Plagiarism Detection Support System)
http://202.44.34.144/.. 2011260247.pdf

– แชร์ลิงค์ต่าง ๆ ของ Blog นี้ ใน Fanpage
http://www.facebook.com/