หลักการในการขอโทษลูกน้อง

หลักการในการขอโทษลูกน้อง (apologize)
หลักการในการขอโทษลูกน้อง (apologize)

หลักการในการขอโทษลูกน้อง
จากหนังสือ The Worst Case Scenario Business Survival Guide
หัวข้อ How to apologize to anyone
http://www.nuttaputch.com/7-principles-of-saying-sorry-for-manager/
1. นึกถึงสิ่งที่ผู้ฟังอยากฟัง = ก่อนขอโทษ ต้องเตรียมคำตอบโดนสวนกลับด้วย
เช่น รู้ว่าผิดแล้วหัวหน้าทำ ๆ ไม อะไรทำนองนี้
(Determine what your listener wants to hear)
2. ทบทวนว่าเขารู้สึกแบบนี้มาเท่าไรแล้ว = จะเร็วจะช้า ไปขอโทษไว้ก่อนน่าจะดีกว่า แต่ถ้าลืมไปแล้วล่ะ หรือนานเกินไปล่ะ
(Determine how long they have felt this way)
3. ดูว่ามีทางแก้ไขอื่นนอกจากขอโทษหรือไม่ = ลูกน้องอาจต้องการซองหนา ๆ หรือกุหลาบสีขาวสักช่อ จัดเลย
(Determine if a correction avobe and beyond the apology is required)
4. กล่าวขอโทษด้วยตัวเอง = อีเมล หรือจดหมายน้อย ไม่ดีเท่าขอโทษด้วยตนเอง
(Apologize in person)
5. ขอโทษอย่างเรียบง่ายและจริงใจ = ไม่ต้องมีพานพุ่มหรือขนมเค๊กไอศครีมก็ได้ จริงใจกว่า
แต่ถ้าคาดว่าไปขอโทษแล้วจะเติมเชื้อเพลิง ก็ให้ “เฉย ๆ ไปเลยดีกว่า” .. เหมือนในเพลง
(Apologize simply and sincerely)

6. รับฟัง = อยากฟังลูกน้องให้เริ่มต้นด้วยคำว่าขอโทษ แล้วเค้าจะพูดกับหัวหน้า
(Listen)
7. ขอโทษอีกครั้ง = ขอโทษหลาย ๆ ครั้ง ลูกน้องชอบฟัง
(Apologize again)
https://books.google.co.th/books?id=h11juvL9UlsC&pg=PT92&lpg=PT92&dq=The+Worst+Case+Scenario+Business+Survival+Guide+apology&source=bl&ots=COlu9nbLPn

สิ่งที่ต้องคำนึงให้มาก คือ ต้องแน่ใจว่าไม่ได้เอาน้ำมันไปราดกองไฟ

Author: บุรินทร์ รุจจนพันธุ์

I am Lecturer, Developer, Researcher, Columnist, Writer, Photographer, and Webmaster - L@mpang man

Leave a Reply