Category: การศึกษา
Activities for Freshman in Nation University
Activities for Freshman
แต่ละปี เมื่อมีนักศึกษาใหม่เข้ามา ก็จะมีกิจกรรมหลายอย่างที่น่าสนใจ
สำหรับปี 2558 ก็มีการพัฒนาต่างไปจากปีก่อน ๆ ซึ่งปรับทุกปี
– รับน้อง ขึ้นดอย
ม.เนชั่น รับน้องสร้างสรรค์ใส่ใจประเพณีพี่พาน้องเตียวขึ้นดอย
+ https://www.facebook.com/media/set/?set=oa.998256906906846
– Freshy contest และ Popular vote
+ แนะนำ idol https://www.youtube.com/watch?v=rcYw-4opS9c
+ รวมภาพ https://www.facebook.com/media/set/?set=oa.1004372916295245
– Freshy night for Freshman
NTU freshy night party 2015
Theme : Colorful Black Light
+ รวมภาพ https://www.facebook.com/media/set/?set=oa.1006270959438774
+ การแสดง https://www.youtube.com/watch?v=6JWOuuJxbRs
+ แนะนำตัว https://www.youtube.com/watch?v=57d-qntOQdo
– ไหว้ครู
+ กิจกรรมไหว้ครู https://www.facebook.com/media/set/?set=oa.1005419349523935
+ https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10153522776813895&set=gm.1005281882871015
+ การแสดง https://www.youtube.com/watch?v=SvKQ-NoYz6k
+ กล่าวปาเจรา https://www.youtube.com/watch?v=S6N7i7Lb-EI
—
นำเรื่อง รับน้อง เฟรชชี่ และไหว้ครูไปแบ่งปันที่ l3nr.org ด้วย
ใช้บริการ learners.in.th หรือ l3nr.org ส่งเสริมการจัดการความรู้
แหล่งจัดการความรู้ที่ learners.in.th หรือ l3nr.org
ก็เป็น blog ที่ดีสำหรับการเป็น “ห้องเรียนกลับทาง”
หรือเว็บไซต์ : เกมส์การเรียนรู้
ถ้านักศึกษา post อะไรที่นั่นแล้ว
ผมก็จะให้ส่งลิงค์ของโพสต์
เช่น https://www.l3nr.org/posts/558635
แต่ถ้าสร้างชั้นเรียนไว้เก็บอะไรก็จะให้ส่งลิงค์ชั้นเรียน
เช่น https://www.l3nr.org/c/tech101572
ส่วนงานในชั้นเรียน ที่เป็นบันทึก ก็จะคล้ายงานนอกชั้นเรียน มีลิงค์
เช่น https://www.l3nr.org/posts/553537
ฝรั่งเชื่อว่า “การเปลี่ยนผู้บริหาร แล้วจะมีการเปลี่ยนนโยบาย”
เคยอ่านเรื่อง “7 โรคร้าย ที่ระรานการจัดการองค์กร”
ที่คุณ vimonmass แปลจาก หนังสือ OUT OF THE CRISIS (1986)
ที่เขียนโดย W. Edwards Deming โพสต์เป็นไทยเมื่อ September 8, 2014
http://goo.gl/E3Qcoq
ผมสนใจข้อ 4 Mobility of TOP Management
อ่านแล้วทำให้รู้สึกว่า
“เมื่อเปลี่ยนผู้บริหาร แล้วจะมีการเปลี่ยนนโยบาย” .. เป็นเรื่องธรรมดาจริงหรือ
ก็ทำไมไม่เหมือนเดิมล่ะ มีเหตุผลอะไรดี ๆ ที่ทำให้ต้องเปลี่ยนแปลง
ผมรู้สึกอีกว่าผิดไปจาก “หลักธรรมาภิบาล เป็นแนวทางในการบริหารจัดการที่ดี”
จำนวน 2 ข้อคือ หลักประสิทธิผล (Effectiveness) และ หลักประสิทธิภาพ (Efficiency)
เพราะการเปลี่ยนแปลง กับการไม่เปลี่ยนแปลง ย่อมต้องแตกต่างกันอย่างมีเหตุมีผล
ถ้าเปลี่ยนก็ต้องมีสารสนเทศมาสนับสนุน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม และประเมินความเป็นไปได้
.. ผมคิดว่างั้นนะ ไม่ใช่เอะอะก็เปลี่ยน และเปลี่ยนแบบไม้อ้างอิงข้อมูล ดูขัดกับหลักธรรมาภิบาล
สอดคล้องกับที่กล่าวในหนังสือ โศกนาฏกรรมองค์กรหลงทิศ
บทที่ 1 บริหารจัดการโดยไม่ใช้ข้อมูลจริง .. แล้วใช้อะไรล่ะ สงสัยจะไม่ใช้ข้อมูลมาเป็นฐานคิด
http://www.thaiall.com/blogacla/admin/1490/
เพลง : ขอให้เหมือนเดิม
ศิลปิน : BUDOKAN
คำร้อง : กมลศักดิ์ สุนทานนท์
ทำนอง : เทียนชัย เกียรติปรุงเวช
เรียบเรียง : BUDOKAN[เทียนชัย]
พฤติกรรมเจ้านาย ที่ไม่ดี แต่ปรับปรุงได้
พบ slide ของ San Santipong Jan 22,2009
เนื้อหาท่อนแรก .. เล่าเปรียบเทียบ พฤติกรรมการทำงาน กับ ผลตอบรับ
เนื้อหาท่อนที่สอง .. เล่าว่าลักษณะเจ้านายเป็นอย่างไร
ที่ http://www.slideshare.net/hellleek/boss-management-presentation
—
ผมว่านะ เป็นเรื่องปกติของมนุษย์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ และมีข้อบกพร่องอยู่
ถ้าเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เขาจะมีคุณธรรมจริยธรรม และอื่น ๆ อีกมากมายที่ดี เช่น
เร็ว ก็ชมว่ายอด
ช้า ก็เข้าช่วยเหลือ
โง่ ก็ส่งอบรม
ฉลาด ก็วางใจให้ทำงาน
ทำก่อน ก็เป็นนวัตกรรม
ทำทีหลัง ก็ slow but sure
คนดี เรียกมาใกล้ ๆ
คนชั่น เก็บไว้ให้ใกล้กว่า
เกลียด คนคด
หลง คนซื่อ
ชอบกิน มะระ
แต่ให้ มะยม
หัวตัวเอง ยกให้ลูกน้อง
ชอบหาหัวใหม่ นอกองค์กรมาสวม
คนดี จึงวิ่งเข้าหา
คนที่เดินหน้าจึงมีแต่ คนทำงาน
.. อ่านขำ ๆ ครับ เพราะผมก็โดนบ่อย ๆ
.. โดยที่บ้านเขเอาขี้เฮะไปขว้าง พอช้า ก็ว่าอืดอาด บ่อยเลย
การประเมินผลงานวิจัย หรือเครื่องมือมีหลายแบบ
3 กรกฎาคม 2558 มีโอกาสไปฟังการนำเสนอผลงานบทความจากการวิจัย
ของอาจารย์ และนักศึกษา ในการประชุมวิชาการระดับชาติ NCCIT
ใน session ของ
Dr.Montean Rattanasiriwongwut (เช้า)
และ
Mr.Tanapon Jensuttiwetchakl (บ่าย)
ได้แนะนำผู้นำเสนอผลงานเรื่องการประเมินไว้หลายเรื่อง
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
– ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
– ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-related Validity)
– ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity)
การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ
โดยการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์นั้น
โดย IOC=Index of Item-Objective Congruence
ปล.มีนิสิตเรียกว่าประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ น่าสนใจ
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
2.1 การวัดความคงเส้นคงวา ด้วยการวัดซ้ำแล้วได้ผลเหมือนเดิม
จะทำการทดสอบกับผู้ให้ข้อมูลกลุ่มเดียวกัน 2 ครั้งในเวลาต่างกัน
2.2 การวัดโดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha method)
วิธีของครอนบาคได้รับความนิยมเพราะเก็บข้อมูลครั้งเดียว
—
หากเป็นข้อสอบก็จะมีเครื่องมือวัดอื่น
3. การวัดอำนาจจำแนก (Discrimination)
เช่น วัดกลุ่มอ่อน ออกจากกลุ่มเก่งได้
ว่าข้อใด มีอำนาจจำแนกเป็นอย่างไร
4. การวัดความยาก (Difficulty)
เทียบจำนวนข้อที่ถูกต้องต่อผู้สอบทั้งหมด
5. ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)
คำถามน้อย ใช้เวลาน้อย ใช้งบประมาณน้อย
6. ความเป็นปรนัย
มีความชัดเจน ผู้ใดตรวจก็ให้คะแนนเหมือนกัน
7. ความหมายในการวัด (Meaningfulness)
ประเด็นคำถามสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
ว่าใช้นามบัญญัติหรือเรียงลำดับจึงเหมาะสม
8. ความสามารถในการนำไปใช้ (Usability)
– นำไปใช้ได้ง่าย
– ใช้เวลาที่เหมาะสม
– ให้คะแนนง่าย
– คุ้มค่ากับเวลา
– แปลผลที่ได้ง่าย
—
9. วัดความถูกต้อง จากการทำงานของระบบที่สร้างขึ้น
10. วัดระดับความแม่นยำ (Precision)
11. วัดเรียกซ้ำ (Recall)
http://www.udru.ac.th/website/attachments/elearning/01/10.pdf
ร่วมประชุม NCCIT 2015 มีประเด็นมากมายที่น่าสนใจ
2-3 กรกฎาคม 2558 มีโอกาสไปฟังการนำเสนอผลงานบทความจากการวิจัย
ของอาจารย์ และนักศึกษา ในการประชุมวิชาการระดับชาติ NCCIT 2015
ประธานจัดงานคือ Assoc.Prof.Dr.Phayung Meesad
http://www.nccit.net
มี key note 2 ท่าน
1. Prof.Dr.Nicolai Petkov
Brain-inspired pattern recognition
2. Assoc.Prof.Dr.Andrew Woodward
An uncomfortable change: shifting perceptions to establish pragmatic cyber security
—
ประเด็นห้องที่ผมสนใจ คือ
Information Technology and Computer Education
วันที่ 2 กรกฎาคม 2558
1. ศึกษาการยอมรับการใช้แอพพลิเคชันบนมือถือ
A Study The Acceptance of Mobile Application
Passana Ekudompong and Sirirak Khanthanurak
–
2. การพัฒนาระบบการจัดกลุ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบทศนิยมดิวอี้
Development of the System for Electronic Media Classification by
Using the Dewey Decimal Classification System
Worapapha Arreerard,Laongthip Maturos, Monchai Tiantong and
Dusanee Supawantanakul
–
3. การพัฒนาแอพพลิเคชันเพื่อการปั่นจักรยานท่องเที่ยว
บนระบบปฏิบัติการ iOS กรณีศึกษาการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต
Application Development on iOS for Cycling to Travel A case
study: Phuket Tourism
Amonrat Prasitsupparote, Phuriphong Phumirawi, Apichaya
Khwankaew and Kantida Nanon
–
4. โปรแกรมต้นแบบระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ภายใต้การตัดสินใจการจัดสรรน้ำ
อย่างเหมาะสมในเขตพื้นที่ชลประทานฝายไม้เสียบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
A Prototype of Geographic Information System based on
Appropriate Irrigation Decisions in Maiseab Weir, Nakhon Si
Thammarat Province
Sarintorn Wongyoksuriya, Onjira Sitthisak and Anisara Pensuk Tibkaew
–
5. การพัฒนาการบูรณาการระบบสารสนเทศบุคลากร
โดยใช้ตัวแบบทูน่า กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเนชั่น
A Development of Information System Integration by TUNA
Model Using : A Case Study of Nation University
Burin Rujjanapan
–
6. การพัฒนาชุดฝึกอบรมการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
ด้วยภาษาซี สำหรับนักศึกษาครุศาสตร์อุตสาหกรรม
Development of the Training Packages the Robot Control
Programming with C for Students of Technical Teacher Training
Program
Kitti Surpare and Patpong Armornwong
–
7. การสร้างกรณีทดสอบจากแบบจำลองกระบวนการธุรกิจอิงเหตุการณ์ขับเคลื่อน
Test Cases Generation from Business Process Model Based on
Event Driven
Sarawut Waleetorncheepsawasd and Taratip Suwannasart
–
8. การทำเจซันแคชด้วยโนเอสคิวแอล
JSON Cache with NoSQL
Aiyapan Eagobon and Nuengwong Tuaycharoen 247
–
9. ระบบสารสนเทศบนเว็บสำหรับการรายงานสินบนตำรวจจราจร
ผ่านโทรศัพท์สมาร์ทโฟน iOS ด้วย Tor
A Web-based Information System for Reporting Traffic Police
Bribe via iOS Smartphones with Tor
Sitichai Chumjai and Nuengwong Tuaycharoen
–
10. การค้นคืนเอกสารข้อความภาษาไทยด้วยเสียงพูด
Speech-based Thai Text Retrieval
Paphonput Sopon, Jantima Polpinij and Thongparn Suksamer
—
วันที่ 3 กรกฎาคม 2558
11. การพัฒนาแบบจำลองพื้นผิวทะเล เพื่อสนับสนุนการคัดเลือกเรือขนส่งถ่านหิน รฟ.กระบี่
Sea Floor Model Visualization for Barge Selection, Krabi Power
plant
Nuttanan Pipitpattanaprap and Sakchai Tangwannawit
–
12. แนวทางการออกแบบกรณีทดสอบ และซีนนาริโอด้วยวิธีวิเคราะห์เมทริกซ์
The guidelines for Test Cases and Scenarios by Analysis Matrix
Taksaporn Phanjhan and Sakchai Tangwannawit 636
–
13. ขั้นตอนวิธีสำหรับพัฒนาแบบฝึกหัดการเขียนอักษรไทยที่ใช้งานบนแท็บเล็ตพีซี
An Algorithm for Handwriting Exercise in Thai Alphabet on the
Use of Tablet PC
Dechawut Wanichsan, Taweesak Rattanakom, Nitat Ninchawee and
Phannika Kongjuk
–
14. การวิเคราะห์โครงข่ายเคเบิลใยแก้วนำแสงเข้าสู่บ้าน
โดยอิงมาตรฐานไอทียูร่วมกับการวางข่ายสายตอนนอก
Analysis of Fiber to the Home Network Based on ITU Standards
with Outside Plant
Tanaporn Jesadamethakajorn and Pudsadee Boonrawd
–
15. ขั้นตอนวิธีการแปลงแผนภาพบีพีเอ็มเอ็นเป็นแผนภาพลำดับ
ด้วยเมต้าดาต้าโมเดลและกฎการแปลงแผนภาพ
Transformation Algorithm from BPMN Diagram to Sequence
Diagram by Metadata Model and Rule-Based
Shavan Tansap and Pudsadee Boonrawd
–
16. ระบบติดตามเวลาการเดินขบวนรถไฟแบบเรียลไทม์
ด้วย GPS บนมือถือ กรณีศึกษาการรถไฟแห่งประเทศไทย
Time Train Tracking System Automatic and Real-Time of GPS
Based on Mobile Case Study for State Railway of Thailand
Phongphodsawat Sangthong and Pongpisit Wuttidittachotti
–
17. การนำแนวทางการบริการเบ็ดเสร็จมาบริหารจัดการแบบสอบถามออนไลน์
Adopting a TurnKey Solution Model to Manage Survey System
Online
Surakiat Rattanarod and Nattavee Utakrit
–
18. ระบบจัดการครุภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดบนแอนดรอยด์โฟน
Durable Articles Management System on Android Phone by Using
QR code Technology
Jutarat Thochai and Nattavee Utakrit
–
19. การประยุกต์ใช้การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
เพื่อบริหารงานซ่อมบำรุงอาคารของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
Building Prevention Maintenance System
Korapat Siriwan and Nattavee Utakrit 680
–
20. การพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้พันธุ์ข้าวในประเทศไทย
Development a Rice Knowledge Management System In Thailand
Thiptep Manpholsri and Montean Rattanasiriwongwut 685
–
21. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามยอดเงินค้างชำระ
โดยใช้วิธีการบริหารลูกค้าสัมพันธ์
Management Information System for Monitoring the Accrued
Income by Customer Relationship Management Technique
Ratchada Khantong, Montean Rattanasiriwongwut and Maleerat
Sodanil
–
22. การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมมือแบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้สื่ออีดีแอลทีวี
The Development of the Model of Cooperative Learning Activities of
Flipped Classroom by using eDLTV Media
Sommai Kaewkanha, Worapapha Arreerard and Tharach Arreerard
ถ้าคิดแบบเดิม ทำแบบเดิม ย่อมได้ผลแบบเดิม
ถ้าคิดแบบเดิม ทำแบบเดิม ย่อมได้ผลแบบเดิม
ปัจจุบัน สกอ. เชื่อว่าระบบที่ดี ต้องดีขึ้นกว่าเดิม
จึงเชื่อว่า คิดแบบใหม่ ทำแบบใหม่ ย่อมได้ผลแบบใหม่
คำว่าระบบ กระบวนการ หรือวงจร
นำเสนอด้วยภาพ 2 ภาพก็จะเห็นความแตกต่าง
ระบบที่ดีจะต้องมีพัฒนาการ ดังนี้
เมื่อมีระบบที่เผยแพร่แล้ว ก็ต้องมีการดำเนินการ หากใช้ระบบไปแล้ว ก็ต้องมีการประเมิน
แล้วนำผลประเมินมาปรับปรุง ซึ่งก็ต้องมีผลการปรับปรุงที่ดีขึ้น หากระบบนั้นดีจริงก็ต้องสะท้อนถึงการปฏิบัติที่ดีหรือเป็นเลิศได้
หากภาพที่ใช้เว็บวงจรเดียวก็จะมองไม่เห็นพัฒนาการ แต่ถ้าเป็นวงจรหลายวงซ้อนกัน และมีความแตกต่างชัดเจนก็จะสะท้อนระบบที่มีการปรับปรุงได้ชัดเจน
นิยามศัพท์
ระบบ (System) หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการกำหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทำอะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลออกมาตามที่ต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฎให้ทราบโดยทั่วกันไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยวิธีการอื่น ๆ องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต และข้อมูลป้อนกลับ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานของคอมพิวเตอร์ที่มีการกำหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทำอะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลออกมาตามที่ต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะประกอบด้วย ข้อมูลนำเข้า การประมวลผล ผลลัพธ์ และข้อมูลป้อนกลับ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
http://www.thaiall.com/iqa
http://www.thaiall.com/os/os01.htm
http://www.problem-solving-for-business.com/pdca-cycle.html
http://depositphotos.com/12988856/stock-photo-pdca-life-cycle-as-business.html
อยากให้สอนแบบใหม่ แต่ข้อสอบเป็นแบบเดิม วัดผลแบบเดิม ครูงง เด็กสับสน
ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์
https://www.facebook.com/ajWiriya/photos/a.109418075746852.10885.109357035752956/849340605087925/
รายชื่อวารสารกลุ่มที่ 1 และ 2 ที่ปรากฎใน TCI
ผลการประเมินวารสารวิชาการไทยรอบที่ 3 (พ.ศ.2558-2562)
มีเอกสารรายงานผลการประเมินวารสารในฐาน TCI รอบที่ 3
– วารสารกลุ่มที่ 1 วารสารที่มีคุณภาพสูง และผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI มี 259 ฉบับ
– วารสารกลุ่มที่ 2 วารสารที่มีคุณภาพ และผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI มี 221 ฉบับ
– วารสารกลุ่มที่ 3 วารสารที่ไม่ผ่านการรับรองคุณภาพ และอาจไม่ปรากฎอยู่ในฐานข้อมูล TCI ในอนาคต มี 119 ฉบับ
จากวารสารทั้งหมด 626 ฉบับ
ในทั้งหมดนี้มีวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 280 ฉบับ
และวารสารสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 346 ฉบับ
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/index.html
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/2558/Announced/News.html
มหาบัณฑิต MBA NATION ตอน… เรียนต่อปริญญาโทไปทำไม ?
การเข้าสู่ AEC ในยุคที่ภาวะเศรษฐกิจอยู่บนพื้นฐานความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ ทุนมนุษย์ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของการพัฒนาเศรษฐกิจชาติ “การศึกษา” จึงเป็นเครื่องมือหลักที่จะสามารถพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙: สำนักงานคณะกรรมการแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ที่ต้องการเร่งสร้างภูมิคุ้มกันในประเทศโดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยให้มีคุณภาพ เพื่อเตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากร และได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม สามารถสร้างโอกาสให้ตนเองด้วยฐานความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์สุขอย่างยั่งยืนในสังคมไทย
หลักสูตรการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในสาขาต่าง ๆ จึงได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีโอกาสสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ตนเองทั้งด้านการงานและชีวิตส่วนตัว มีความคาดหวังให้บัณฑิตเรียนจบออกไปพร้อมกับความสามารถหลักในการทำงาน และขณะเดียวกันก็รู้แนวทางการพัฒนาชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม อาจาร์ยผู้สอนมุ่งศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเนื้อสาระของโปรแกรมการศึกษาให้ตามทันความก้าวหน้าของสภาพแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจ รูปแบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ในวิชาที่สอนมีความสอดคล้องกับความต้องการและการนำไปใช้ประโยชน์ของผู้เรียน
มหาวิทยาลัยเนชั่น ในฐานะสถาบันการศึกษาที่มุ่งพัฒนาบัณฑิตและมหาบัณฑิตให้มีคุณภาพ ได้ยึดหลักการบริหารการศึกษาที่มีรูปแบบเป็นปัจจุบัน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการพัฒนาตนเองของผู้เรียนและการนำไปใช้ประโยชน์ภายในองค์กร ทิศทางการพัฒนาบัณฑิตจึงสอดคล้องกับความต้องการขององค์กรต่างๆ โดยสร้างคุณค่าแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกคน อันประกอบด้วย ผู้สอน ผู้เรียน สังคมรอบข้าง และนายจ้าง
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยเนชั่น ซึ่งเป็นหน่วยการศึกษาที่มุ่งพัฒนามหาบัณฑิตด้วยการประยุกต์แนวความคิดทางธุรกิจเข้าผสมผสานกับการจัดการศึกษา ได้จัดกระบวนการเรียนการสอนและการทดสอบในลักษณะกระตุ้นให้รู้จักคิดและพัฒนาทักษะการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking) เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกสร้างทักษะและความสามารถให้ตนเองจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ รู้จักเปิดโลกทัศน์ใหม่ๆ ด้านการศึกษาให้สามารถเข้าถึงสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยเนชั่น จึงเป็นทางเลือกสำคัญแห่งหนึ่งที่เปิดประตูให้คนหนุ่มสาวยุคใหม่เข้ามาไขว่คว้าหาโอกาสเพื่อสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างมั่นคงให้ตนเอง.