การที่ VirtualBox จะได้ IP จริง และ start httpd พร้อม Host

การที่ VirtualBox จะได้ IP จริง และ start httpd พร้อม Host
มีขั้นตอนดังนี้
1. เปิด VBox แล้วเลือกตั้งค่าให้ Guest ของผมใช้ Win8
2. เลือก เครือข่าย (Network)
เดิมกำหนดเป็น Nat เปลี่ยนเป็น แผงวงจรแบบบริดจ์ (Bridge Adapter)
ใช้ Net บ้าน มี Router แจก IP แบบ Wireless ภายในบ้าน
3. สั่ง Start : Guest
ขณะอยู่ใน Guest ใช้ DOS>ipconfig
พบ IP คือ 192.168.1.4 เป็นของ Guest
4. อยู่ใน Host ใช้ DOS> ipconfig
พบ IP คือ 192.168.1.5 เป็นของ Host
5. ทดสอบติดตั้ง xampp
[xampp-win32-7.1.7-0-VC14-installer.exe]
ทำให้ Guest เปิดบริการ Port 80
ติดตั้งเสร็จก็ Start : Apache
แล้วตรวจสอบว่าบริการที่เปิดไว้ เข้าถึงจากภายนอกได้หรือไม่
6. ตรวจใน Service ไม่พบว่า Apache
ตรวจโดยเข้า DOS>Services.msc ก็ไม่พบว่า Apache อยู่ใน Services
ใช้ DOS เข้า c:\xampp\apache\bin แล้วติดตั้งเป็น Service เอง
เข้า Windows, Command Prompt (Admin) จึงจะติดตั้ง Service ได้
DOS>httpd -k install
ใน Config มุมบนขวาของ XAMPP Control Panel มีบริการ Start Automatic
หากเลือกให้ MySQL เปิดอัตโนมัติ ก็จะ Start Automatic ได้
7. ขณะอยู่ใน Guest หรือ Host
ทดสอบการเปิดบริการ Apache ใน XAMPP
เปิด http://192.168.1.4 พบ Web Server ทั้งคู่
8. การสั่ง Start VBox ผ่าน Shell:startup
DOS>”C:\Program Files\Oracle\VirtualBox\VirtualBox.exe” –startvm mywin8
สร้างแฟ้ม .bat ในห้อง Startup
ต่อไปเวลาเปิดเครื่องก็จะสั่งให้ mywin8 ถูก Start ขึ้นมาอัตโนมัติ
และ Service Apache ก็จะถูกเรียกขึ้นมาโดยอัตโนมัติเช่นกัน

http://www.thaiall.com/handbill/openphotodir.php?folder=../os/virtualbox_win8/

http://www.thaiall.com/os/virtualbox.htm

ชอบ Continuum บน Windows 10

click on windows button
click on windows button

Continuum คือ ความสามารถใหม่ของ Windows 10
ในการปรับรูปแบบการทำงานให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่แตกต่างกัน
ทำงานกับ Notebook ก็จะมีความสามารถเน้นอย่างหนึ่ง
เมื่อไม่มีแป้นพิมพ์บน Surface หรือ Tablet หรือ Phone ก็เป็นอีกอย่างหนึ่ง

 

right click on windows button
right click on windows button

http://www.anandtech.com/show/9413/windows-10-editions-compared
https://www.beartai.com/news/itnews/39985

เปรียบเทียบ windows edition
เปรียบเทียบ windows edition

ผมใช้ Windows 10 Home เห็นตารางแล้ว
รู้สึกอยากได้ Edition อื่น ๆ อย่างเช่น Remote Desktop ก็ไม่มีให้
แต่มีนักพัฒนาทำ RDPWrap
https://github.com/stascorp/rdpwrap
ทำให้เครื่องของผมสามารถรับการเชื่อมต่อแบบ Remote Desktop ได้

การแสดงชื่อภาพยนตร์ และ Rating ของแต่ละเรื่อง จากฐานข้อมูลของ IMDB.COM

eight and a half
eight and a half

สคลิ๊ปอ่านข้อมูลจาก ratings.list แบบ plain text
ที่เผยแพร่โดย imdb.com
มาแสดงผลในเว็บเพจแบบตาราง แบ่งหน้าละ 50 รายการ
และมีลิงค์ค้น title ในฐานข้อมูล imdb.com ผ่านชื่อเรื่อง
โดยปรับภาษาให้แสดงตัวอักษรชื่อเรื่อง
ผ่าน html ที่ใช้รหัส ord() เพื่อแสดงอักษรพิเศษ
เช่นเรื่อง 8½ (1963) ในรายการที่ 230

BD = 189 = ฝ = one by two

notepad++ is free editor for programmer
notepad++ is free editor for programmer

https://gist.github.com/thaiall/5f424d021c203b828710bdeaadee3c03

การสั่งแสดงตัวอักษร ก ใน CP874 บน Webpage

มีโอกาสนั่งคุยกับนักศึกษา
เรื่องตัวเลข ฐานสิบ ฐานสิบหก และตาราง ASCII
พบตาราง Character Set ของคนไทย คือ Windows-874 หรือ TIS-620
หากจะแสดงเว็บเพจภาษาไทย
มักใช้ <meta http-equiv=”content-type” content=”text/html;charset=windows-874″ />
หรือ <meta charset=”tis-620″ />
แล้วสั่งแสดงตัวอักษร ก ด้วย &#3585; หรือพิมพ์ตรง ๆ ก็ได้
หากใช้ตัวเลข ก็แสดงว่า 3585 คือ ก
ซึ่งเป็นเลขสำหรับตัวอักษรภาษาไทยตัวแรก ในระบบ Unicode
แล้วพบว่าไม่สามารถแสดงด้วย &#161; หรือ &#xA1;
เพราะ Browser ไม่ได้รองรับ
อักษรพิเศษอื่น ๆ ที่ชวนมอง และมี Entity Name

อาทิ
&amp; = Ampersand
# = Number sign
# = Hashtag sign
# = Sharp sign

 

โฮมเพจที่น่าสนใจ
http://www.w3schools.com/charsets/ref_utf_symbols.asp
http://www.rakjung.com/facebook-no163.html
http://www.thailibrary.in.th/2014/02/13/char-set/
https://en.wikipedia.org/wiki/Code_page

แล้วโฮมเพจหน้าหนึ่งของผมก็ได้ 100/100 จาก pagespeed ของ google.com

pagespeed 100/100
pagespeed 100/100

เล่าสู่กันฟัง
เคยมีเพื่อนสนใจเรื่อง “การประเมินเว็บเพจให้ทำงานเร็ว และดีกับผู้ใช้
เพราะถ้าข้อมูลมหาศาลแล้ว ก็มีประเด็นสำคัญ 2 เรื่องใหญ่ที่ต้องใส่ใจ
ความเร็ว (Speed Rules) คือ ปัญหาในการให้บริการ
การใช้งาน (Usability Rules) คือ หน้าตาเว็บเพจสำหรับผู้ใช้
บริการของ Pagespeed จาก google.com
เป็นตัวเลือกหนึ่ง ที่มีเกณฑ์การประเมินชัดเจน
การได้ 100/100 คือ อะไรที่น่าสนใจ
วันนี้ลองอีกตั้งหนึ่ง ปรับแก้ให้ผ่านเกณฑ์จนได้ (หลังจากไม่เคยถึงเลย)
แล้วก็ผ่านครับ กับเว็บเพจหน้าแรกของผม คือ ศูนย์สอบออนไลน์
http://www.thaiall.com/quiz/index.html

สรุปว่า เมื่อ 22 ม.ค.60 ได้ปรับเว็บเพจ index.html ใน /quiz
ซึ่งเป็นหน้า welcome page ของศูนย์สอบออนไลน์ และเป็นการปรับใหญ่ที่มีคุณสมบัติต่าง ๆ
ต้อนรัปปี 2560 ดังนี้

1) เป็น Responsive Web Design
2) ผ่านเกณฑ์ Pagespeed ของ Google
3) ปรับรูปแบบ และเพิ่มเนื้อหาพาไปยังโฮมเพจที่สำคัญ

การผ่านเกณฑ์ของ Pagespeed มีข้อดี คือ
เว็บเพจของเราจะถูกโหลดอย่างรวดเร็วโดยผู้ใช้
และแสดงผลอย่างเหมาะสม
ทั้งบน mobile device และ desktop computer
ส่วนการเป็น Responsive Web Design
ทำให้การพัฒนา Application บน Google play store กับ App store ของ Google
สามารถทำ Redirect ไปยัง webpage ได้ทันที โดยไม่ต้องปรับแต่งเพิ่มเติม
เห็นแอพหลายตัวที่ทำขึ้นมาง่าย ๆ โดยเชื่อมกับเว็บไซต์โดยตรง
http://www.thaiall.com/web2

[Speed Rules]
Avoid landing page redirects
Enable compression
Improve server response time
Leverage browser caching
Minify resources
Optimize images
Optimize CSS Delivery
Prioritize visible content
Remove render-blocking JavaScript
Use asynchronous scripts

[Usability Rules]
Avoid plugins
Configure the viewport
Size content to viewport
Size tap targets appropriately
Use legible font sizes

แผนภาพบอกสัดส่วนชัดเลย มีหญิงไทยมากกว่าชายในไทย ดังนั้นชายเลือกได้มากกว่าหญิง .. จริงหรา

หญิงมีมากกว่าชาย
หญิงมีมากกว่าชาย

ที่เว็บไซต์ คนไทย.com มี Thailand Gateway มีข้อมูลทำให้เรารู้ว่าประเทศไทย มีคนไทยกี่คน วันนี้สนใจเรื่องการนำเสนอข้อมูลตัวเลข (Number) โดยใช้แผนภาพ (Diagram หรือ Chart) จะใช้ Google chart ทำ Pie chart เทียบหญิงกับชาย ว่ามีจำนวนเพศละกี่คน จากข้อมูลใน khonthai.com
พบว่า ประกาศสำนักทะเบียนกลาง
เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

คนที่มีสัญชาติไทย
มีชาย (Male) 31,865,175 คน
มีหญิง (Female) 33,064,910 คน
รวม 64,930,085 คน

http://www.thaiall.com/php/google_ajax_api_pie.htm

คนไทย.com มี Thailand Gateway มีข้อมูลทำให้เรารู้ว่าประเทศไทย มีคนไทยกี่คน
คนไทย.com มี Thailand Gateway มีข้อมูลทำให้เรารู้ว่าประเทศไทย มีคนไทยกี่คน

แล้วเมื่อเที่ยงของวันที่ 17 มกราคม 2560 นอกจากข้อมูลข้างต้น
ยังพบว่าเครื่องบริการข้อมูลของที่นี่ น่าจะใช้ Mysql
และใช้ภาษา PHP ที่รู้เพราะขณะโหลดข้อมูล
มีข้อความ Warning แจ้งให้ทราบ ว่าระบบฐานข้อมูลไม่ตอบตามปกติ
ก็เป็นกรณีศึกษาที่สามารถนำไปแบ่งปันในห้องเรียนได้
http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm

บริการ chart ของ google ผ่าน ajax api


มีเพื่อน .. ต้องการทำรายงานจากข้อมูล แล้วนำเสนอผ่านเว็บเพจ
เมื่อประมวลผลก็จะเป็นข้อมูลเชิงสถิติ หรือสารสนเทศ ที่จะช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องสำหรับสังคม การนำเสนอข้อมูลผ่าน chart เป็นเรื่องควรทำ เพราะดูง่ายกว่าเขียนอภิปรายสรุปผลแต่เพียงอย่างเดียว

https://google-developers.appspot.com/chart/interactive/docs/gallery

การนำเสนอ chart ในเว็บเพจมีกันหลายวิธี นั่งทบทวนการใช้ OFC (Open Flash Chart) อยู่พักหนึ่ง สุดท้ายก็ต้องยอมแพ้ เพราะ เส้นทางของ Flash ในอนาคต ดูจะตีบตันเหลือเกิน และ OFC ก็ไม่ได้พัฒนาต่อให้สมบูรณ์ ต่างกับ Google Chart ที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเลือกใช้งานได้หลากหลาย ตามความต้องการของผู้ใช้

ตัวอย่าง google ajax api
ตัวอย่าง google ajax api

จากการทดสอบ code ที่ใช้นำเสนอข้อมูลใน chart แต่ละแบบ ได้เก็บตัวอย่าง code ไว้เป็นไฟล์ และเก็บภาพตัวอย่าง chart เพื่อจะได้เลือกนำมาใช้ และนำ code มาปรับแก้โดยง่าย
ระบบนี้ไม่ต้องมี server เพราะจะเรียกไปยัง google.com โดยส่งข้อมูลผ่าน javascript code ทำงานแบบ AJAX คือ ประมวลผลร่วมกันระหว่าง client กับ google server มีตัวอย่าง chart แบบต่าง ๆ ดังนี้

 

google_ajax_api_annotation.htm
google_ajax_api_area.htm
google_ajax_api_bar.htm
google_ajax_api_bubble.htm
google_ajax_api_calendar.htm
google_ajax_api_candlestick.htm
google_ajax_api_column.htm
google_ajax_api_combo.htm
google_ajax_api_diff.htm
google_ajax_api_donut.htm
google_ajax_api_gantt.htm
google_ajax_api_gauge.htm
google_ajax_api_geo.htm
google_ajax_api_histrogram.htm
google_ajax_api_line.htm
google_ajax_api_lineinterval.htm
google_ajax_api_map.htm
google_ajax_api_org.htm
google_ajax_api_pie.htm
google_ajax_api_scatter.htm
google_ajax_api_table.htm
google_ajax_api_timeline.htm
google_ajax_api_trendline.htm
google_ajax_api_wordtree.htm

ทบทวนการใช้งาน linux ผ่าน Debian ที่อยู่ใน VirtualBox

มะละกอแขกดำ ซื้อมาต้น 20 บาท
มะละกอแขกดำ ซื้อมาต้น 20 บาท
เมล็ดมะละกอฮอลแลนด์ ตากแห้งเอง
เมล็ดมะละกอฮอลแลนด์ ตากแห้งเอง

วันนี้เตรียมเมล็ดมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ จากมะละกอสุก
นำไปตากให้แห้งเอง ไม่ต้องซื้อใครเขา ทำเมล็ดพันธุ์เองเลย
เค้าว่าเมล็ดพันธุ์สำหรับนำไปปลูก
ขายกันเป็นขีด (100 กรัม)
ขีดละประมาณ 700 – 900 บาท มี 7000 – 8000 เมล็ด
บางรายขายเป็นซอง ๆ ละ 100 บาท มี 50 เมล็ด
https://www.facebook.com/malakoboy69/

share folder in debian
share folder in debian
virtualbox screen
virtualbox screen

จากนั้นก็มาทบทวน Operating System
จำได้ว่าเคยลง Debian ไว้บน Oracle VM VirtualBox
ใน WinXP ที่ใช้งานอยู่
ในเครื่องผมตั้ง user เข้า Debian ว่า “nation
ต้องกรอกรหัสผ่านเข้าเครื่องให้ถูก
ถ้าไม่ถูกระบบจะแจ้งว่า “Authentication failure”
1. เปิดขึ้นมาก็เห็น Gnome Desktop
2. มุมบนซ้ายสุดมี Application, Places, System
ก็เลือก Application – Accessories – Terminal หรือ Root Terminal
เหมือนพิมพ์ SU เลยครับ
3. ตรวจว่าเครื่องเราเปิด port อะไรไปแล้วบ้าง
ด้วย #netstat -na
4. ตรวจว่ามี process อะไร start อยู่บ้าง
ด้วย #ps -aux
5. ตรวจว่ามีใครเข้าออกระบบเมื่อใด
ด้วย #last
6. ตรวจว่ามี user name อะไรที่อยู่ที่สร้างไว้แล้ว
ด้วย #cat /etc/passwd
7. ตรวจว่าเชื่อมต่อสื่ออะไรจากที่ไหนไว้บ้าง
ด้วย #mount
พบว่าแชร์เข้ามาจากระบบ Windows จำนวน 2 Folders
http://www.thaiall.com/blog/burin/4628/

15 ข้อผิดพลาดที่พบได้ใน UI Website จึงต้องระวัง

ui webpage
ui webpage

Julia Blake เขียนเมื่อ 13 พฤษภาคม 2015
เรื่อง 15 Worst UI Design Features to Watch Out For and Overcome
1. มีปุ่ม Reset อยู่ติดปุ่ม Submit ทำให้กดพลาดได้
2. มีปุ่ม Cancel อยู่ติดปุ่ม Back สำหรับกรอกหลายหน้า ทำให้กดพลาดได้
3. มีปุ่ม X ทำให้เข้าใจผิดว่า ปิดอะไร ซึ่งไม่ชัดเจน สื่อสารผิดพลาดได้
4. มีหน้า Chat เด้งขึ้นมาคุยกับเรา เมื่อเปิดเว็บไซต์ คงไม่ดีแน่
5. มี *** ขณะพิมพ์รหัสผ่าน ทำให้สับสน เพราะมองไม่เห็น
6. สไลด์ภาพอัตโนมัติ เป็นการบังคับให้ต้องดูข้อมูล
7. การเลื่อนข้อมูลให้เลือกแบบ Carousel เหมือนกงล้อ เห็นแล้วเชย
8. เมนูแบบตกลง ไม่เหมาะกับข้อมูลปริมาณมาก
9. ป้ายแบบทับข้อมูลตามมุม น่ารำคาญ
10. ถ้าคลิ๊กโลโก้ก็ต้องกลับไปหน้าแรก อย่าลืม
11. แถบนำทางขนาดใหญ่บนจอภาพ ใช้งานยาก
12. ให้เลือกว่าจะใช้ mouse หรือ keyboard เลื่อนข้อมูล
13. อย่าใช้สีฉูดฉาด
https://alison.com/courses/Colour-Theory-for-Artists-and-Designers
http://www.sessions.edu/certificate-programs/course-color-theory
14. ตัวอักษรเล็กเกินไป
15. ใช้ Captcha ตรวจสอบว่าเป็นมนุษย์หรือไม่
https://idxw.net/2015/05/27/15-%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A-ui-webs/
http://www.onextrapixel.com/2015/05/13/15-worst-ui-design-features-to-watch-out-for-and-overcome/

การติดตาม monitor โฮมเพจหรือเว็บไซต์ได้เช่นเดียวกับคน

website-analysis
ประเมินเว็บไซต์
http://www.check-domains.com/website-analysis/website-analyzer.php

ตัวเราเองก็มักจะประเมินตนเอง หรือมีคนประเมินตัวเราเสมอ
เช่น ได้เกรดอะไร น้ำหนัก ความดัน เบาหวาน
หรือผลสอบแข่งขันต่าง ๆ ว่ามีประสิทธิภาพหรือไม่
http://www.thaiall.com/webmaster/
การทำเว็บไซต์ก็เช่นกัน สามารถติดตามประสิทธิภาพของเว็บไซต์
ได้หลายประเด็น
1. พฤติกรรมการเข้าเว็บไซต์ บริการจากภายนอก
เช่น http://truehits.net/stat.php?login=thaiall
หรือ https://www.stats.in.th/?cmd=stats&sid=47&list=m&y=2016
หรือ https://www.google.com/analytics/

2. พฤติกรรมการเข้าเว็บไซต์ ติดตั้งไว้ภายในเครื่อง
– รวมสคริ๊ปสำหรับนำไปติดตั้ง
http://www.hotscripts.com/category/scripts/php/scripts-programs/web-traffic-analysis/
– วัด web application
http://oracle-java.blogspot.com/2007/08/web-application-jmeter.html
– ภายในเครื่องบริการเว็บก็มี access.log หรือ error.log ที่นำมาวิเคราะห์ได้

3. ประเมินเว็บไซต์ หรือเว็บเพจ
มีหลายมุมให้พิจารณา
http://www.check-domains.com/website-analysis/website-analyzer.php
http://validator.w3.org/check/referer
http://jigsaw.w3.org/css-validator/check/referer
https://developers.google.com/speed/pagespeed/insights/

4. Browser
กด Ctrl-Shift-I มีบริการ Inspector เว็บเพจได้
ว่ารองรับ responsive web design กับอุปกรณ์ต่าง ๆ หรือไม่

5. บริการเสริม
เช่น facebook.com ก็จะมียอด like ยอดแชร์
สามารถ plugin เข้ามาใน webpage ได้
หรือ youtube.com ก็จะมี plugin เช่นกัน
หรือ 4share.com หรือ box.com ก็แชร์แฟ้มให้ดาวน์โหลดได้

บทความที่ esarn.com น่าสนใจ
http://www.esarn.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%95%E0%B9%8C/
เรื่อง ทำไมต้องวิเคราะห์เว็บไซต์ มี 4 วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้งานบนเว็บไซต์ของคุณ
2. เพื่อนำมาต่อยอดในการวางแผนทางการตลาดให้กับธุรกิจ
3. เพื่อวางแผนการใช้งานคนและงบประมาณ
4. เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขเว็บไซต์ของเรา