เมืองใหม่ที่สร้างเรียนแบบปารีสในจีน

เมืองใหม่ที่สร้างเรียนแบบปารีสในจีน

พบข่าวว่าเมืองใหม่ จำลองสถาปัตจากเมืองปารีส ฝรั่งเศส
ที่สร้างในเซียงไฮ้ เป็นเมืองใหญ่มาก และเป็นเมืองร้างแล้ว
หลังเปิดตัวยิ่งใหญ่เมื่อ 2550
ซึ่งอีกหลายชุมชนในจีนก็เข้าชะตากรรมเดียวกัน
เขาทำนายว่าฟองสบู่ในจีนใกล้แตกแล้ว

เคยดูภาพยนตร์เกี่ยวกับปารีส ต่อไปเปลี่ยนไปจีน
ก็น่าจะเห็นคล้ายกัน ไม่ต้องไปปารีสก็ได้ .. กระมัง

http://news.voicetv.co.th/global/77613

AFP บอกไทยไม่ใช่เมืองแห่งรอยยิ้ม อีกวันแบดไทยไปมวยโลก

http://www.youtube.com/watch?v=nF5KkWvqBhI

นักแบดมินตันไทยไล่ต่อยกันกลางสนามแข่ง
http://news.tlcthai.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%AC%E0%B8%B2/170966.html
ใน “โยเน็กซ์ แคนาดา โอเพ่น 2013” วันที่ 20 กรกณาคม 2556
http://shows.voicetv.co.th/voice-news/76268.html

canada open 2013
canada open 2013

AFP = Agence France Presse เป็นสำนักข่าวของฝรั่งเศส
ตีแผ่ประเทศไทย ไม่ใช่เมืองแห่งรอยยิ้มอย่างที่คิด

เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
http://hilight.kapook.com/view/88841
19 กรกฎาคม 2556 สำนักข่าวเอเอฟพี ตีแผ่เรื่องราวด้านมืดของประเทศไทยว่า ประเทศไทยที่มีสมญานามว่า สยามเมืองยิ้ม นั้น บางครั้งก็ไม่ได้เป็นอย่างที่คิด เพราะมีรายงานเกี่ยวกับอาชญากรรม การข่มขืน การชิงทรัพย์ ไม่น้อยเลยทีเดียว

โดยเอเอฟพี ได้ระบุโดยสรุปว่า ประเทศไทยเป็นดินแดนที่มีชายหาดที่สวยงาม เหมาะแก่การนอนอาบแดด มีวัดวาอารามอร่ามเรือง และมีสถานบันเทิง-ร้านรวงสำหรับชีวิตยามค่ำคืนที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทำให้นักท่องเที่ยวหลายคนประทับใจกับการมาเยือนประเทศไทยมาก แต่สำหรับนักท่องเที่ยวอีกหลายคน ประเทศไทยถือว่าเป็นดินแดนห่างไกลเกินกว่าจะเรียกว่า สวรรค์บนดิน อย่างที่หลายคนคาดหวัง

เพราะพวกเขาต้องเจอกับเหตุอาชญากรรม การชิงทรัพย์ การข่มขืน และอีกหลาย ๆ ปัญหาที่ทำให้การมาเที่ยวเมืองไทยไม่ได้สนุกอีกต่อไป โดยเฉพาะเรื่องการชิงทรัพย์ หรือขูดรีด หากนักท่องเที่ยวคนไหนที่ชื่นชอบการดื่มแอลกอฮอล์ ท่องราตรี พวกเขาอาจจะต้องตื่นและสร่างเมาขึ้นมาตอนเช้าแล้วพบว่าตัวเองถูกชิงทรัพย์ไปหมดเนื้อหมดตัว บางครั้งก็ต้องเจอการเก็บเงินค่าอาหารในราคาขูดรีดแบบสุด ๆ และบางครั้งก็เจอใบสั่งปรับจากตำรวจท้องถิ่นข้อหาจอดรถไม่ถูกที่ ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ชาวต่างชาติเจอกันบ่อย ๆ

ด้านนายวอล บราวน์ อาสาสมัครชาวออสเตรเลียที่ทำงานร่วมกับตำรวจลาดตระเวนบนถนนอันเนืองแน่นในป่าตอง จังหวัดภูเก็ต ได้เปิดเผยสิ่งที่เขาได้เจอในประเทศไทยว่า ที่เมืองแห่งรอยยิ้มนี้ มีนักท่องเที่ยวหลายคนโดนฉุด เมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมา ก็มีชาวอิตาลี 2 คน เดินโผล่ออกมาจากพุ่มไม้ แล้วก็จำอะไรไม่ได้เลยเป็นเวลา 3 วัน เสื้อผ้าและเงินทั้งหมดก็ถูกขโมยไปด้วย สิ่งที่ติดตัวพวกเขามีอย่างเดียวก็คือกางเกงใน การชิงทรัพย์ชาวต่างชาติเกิดขึ้นอยู่บ่อย ๆ ที่ภูเก็ต และผู้ที่ขับรถมอเตอร์ไซค์ในที่เปลี่ยวยามค่ำคืนมักจะตกเป็นเป้าหมายของโจรเหล่านี้

และที่ร้ายแรงไปกว่านั้น คือ นักท่องเที่ยวบางรายต้องเผชิญกับอาชญากรรมที่รุนแรงถึงชีวิต อย่างเช่นเมื่อเดือนมิถุนายนปีที่แล้ว หญิงชาวออสเตรเลียวัย 59 ปี รายหนึ่ง ก็ถูกโจรโหดฆ่าชิงทรัพย์ ซึ่งคดีนี้ลงเอยที่โจรผู้ก่อเหตุต้องรับโทษจำคุกตลอดชีวิต และเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมานี้เอง ก็มีชาวอเมริกันรายหนึ่งถูกคนขับรถแท็กซี่ฆ่าตาย หลังจากที่ทะเลาะวิวาทกันเรื่องค่าโดยสาร

นอกจากนี้ ความปลอดภัยบนท้องถนนในประเทศไทยนั้นยังอยู่ในระดับที่น้อยมาก ที่ผ่านมามีชาวต่างชาติไม่น้อยที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน จากการโดยสารรถราสาธารณะในไทย

จากปัญหาหลาย ๆ อย่างข้างต้น ชาวต่างชาติหลายคนได้เปิดเผยกับเอเอฟพีว่า พวกเขาหวังเหลือเกินว่าปัญหาเหล่านี้จะได้รับการแก้ไขปรับปรุง โดยนายเดวิด ลิปแมน หัวหน้าคณะผู้แทนอียู ได้กล่าวว่า เขาหวังว่าทางการไทยจะจัดการปัญหาเหล่านี้ให้ลดน้อยลง หลายคนที่มาเยือนไทย อย่างไปภูเก็ต พวกเขาอยากจะมีช่วงเวลาที่มีความสุขที่นั่นและไม่ต้องเผชิญปัญหาใด ๆ แต่ ณ วันนี้ ปัญหาต่าง ๆ ก็ยังคงอยู่

siam did not smile
siam did not smile

วิธีจัดการกับโทสะด้วยการเจริญสติ

นสพ.ในซันตงถูกสั่งปิด เพราะเผยแพร่ภาพ “สาวสวย”

นสพ.ในซันตงถูกสั่งปิด เพราะเผยแพร่ภาพ “สาวสวย”
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์     8 กรกฎาคม 2556 16:15 น.

beauty news
beauty news

VULGAR CONTENT = เนื้อหาหยาบคาย

หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในมณฑลซันตง The Blue Express Daily โดนปิดเป็นเวลาสามเดือน เจ้าหน้าที่อ้างเหตุเพราะ “เนื้อหาไม่เหมาะสม” โดยลงภาพ “สาวสวย” (ภาพ เอเจนซี)

http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9560000083205

เอเจนซี--หนังสือพิมพ์ยอดนิยมในมณฑลซันตง ถูกทางการสั่งปิดเป็นเวลาสามเดือน เหตุเพราะ เผยแพร่เนื้อหา “ที่ไม่เหมาะสม

สืบเนื่องจาก สำนักงานกำกับดูแลสื่อสิ่งพิมพ์ประจำมณฑลซันตง ได้อ้าง “ว่าด้วยการตีพิมพ์เผยแพร่สื่อสิ่งพิมพ์” และกฎฯอื่นๆ ออกคำสั่งแก่ The Blue Express Daily และสื่อสิ่งพิมพ์จำนวนหนึ่งที่ฝ่าฝืนกฎฯ หยุดดการตีพิมพ์และจัดจำหน่าย

ในวันศุกร์(5 ก.ค.56) The Blue Express Daily (Lan Se Kuai Bao/蓝色快报) ได้ตีพิมพ์จดหมายอำลา ผู้อ่านที่หน้าแรกของหนังสือพิมพ์ “ถึงผู้อ่านที่รัก พวกเราซาบซึ้งใจและรำลึกถึงความเอื้ออาทรของท่านเสมอมา ทั้งการสนับสนุนและความช่วยเหลือ ตั้งแต่วันแรกที่หนังสือพิมพ์ถือกำเนิด…ขอจงยืนหยัดฝ่าฝืนอุปสรรคนานา ขอจงรอคอยการกลับมาของเรา

ใต้จดหมายอำลาฉบับนี้ ยังมีบทกวีของกวีร่วมสมัยจีน ซู่ ถิง(舒婷) ชื่อว่า “บางที”
บางทีด้วยภาระอันหนักอึ้งบนบ่าของเรา, บางทีด้วยความเชื่อที่หนักแน่นขึ้นของเรา… บางทีเราไม่มีทางเลือกใดแล้ว เนื่องจากสิ่งที่เรามิอาจต้านทาน

นาย หาน ห่าว บรรณาธิการบริหาร The Blue Express Daily สื่อในเครือต้าจ้ง นิวส์ กรุ๊ป (Dazhong News Group /大众报业集团) ระบุว่า The Blue Express Daily เป็นสื่อท้องถิ่นเมืองเหยียนไถ มณฑลซันตง เริ่มเผยแพร่เมื่อวันที่ 17 ก.ค.ปีที่แล้ว(2555) มีพนักงาน กว่า 300 คน จำนวนพิมพ์ 60,000 ฉบับ

แม้ในจดหมายอำลาผู้อ่านมิได้ระบุสาเหตุการปิดหนังสือพิมพ์ ชีว์ ขุยเฉิง ผู้ช่วยบรรณาธิการ กล่าวถึงสาเหตุการปิดหนังสือพิมพ์ ว่า “เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม” เป็นสาเหตุหลัก

เนื้อหาที่เสื่อมทราม” เป็นหนึ่งในข้อกล่าวหา การปิด The Blue Express Daily …ในประวัติศาตร์หนังสือพิมพ์และประวัติศาสตร์ยุคปัจจุบัน ได้พลิกเปลี่ยนหน้าใหม่แล้ว พวกเรานักหนังสือพิมพ์กำลังเผชิญกับ ความมืดมนที่สุดนับจากปลายราชวงศ์ชิง

หาน ให้สัมภาษณ์กับสื่อฮ่องกง เซาท์ ไชน่า มอร์นิ่ง โพสต์ เมื่อวันศุกร์(5 ก.ค.56) เผยเบื้องหลังการปิดหนังสือพิมพ์ มาจากการกลั่นแกล้งของคู่แข่ง โดยคู่แข่งได้ไปหาเจ้าหน้าที่และโจมตีหนังสือพิมพ์ว่า ตีพิมพ์ภาพที่ไม่เหมาะสม คือ “สาวสวย” หานกล่าวว่าภาพ “สาวสวย” ที่ว่านี้เป็นภาพสาวไฮไซฯ ในหน้าข่าวบันเทิง

ทั้งนี้ The Blue Express Daily ออกวางตลาดได้ไม่กี่เดือน ก็เผชิญมรสุมความรุนแรง โดยกลุ่มอันธพาลได้บุกสำนักงาน ทุบพังคอมพิวเตอร์ และทำร้ายคนในกองบรรณาธิการ

ใครๆก็รู้ว่าใครเป็นคนทำ” หาน กล่าวโดยอ้างอิงถึงคู่แข่งหนังสือพิมพ์ในท้องถิ่น ซึ่งอิจฉาริษยาThe Blue Express Daily ที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว

กลุ่มผู้อ่านได้โพสต์ข้อความ หลังจากที่รู้ว่า The Blue Express Daily ถูกปิด อาทิ “หนังสือพิมพ์มักนำเสนอเรื่องชีวิตประชาชนในท้องถิ่นและปัญหาในรัฐบาลท้องถิ่น”

เนื้อหาที่ไม่เหมาะสมอะไรกันหรือ…ผมไม่เคยเห็นเลย” ผู้อ่านคนหนึ่งโพสต์

เราต้องการฟังเสียงที่แตกต่างออกไป เพื่อการตัดสินใจที่ดีขึ้น ตลาดจะเป็นผู้ชี้ขาดความเป็นความตายของหนังสือพิมพ์เอง

เสรีภาพสื่อไทย อยู่อันดับที่ 135 จาก 179
เสรีภาพสื่อไทย อยู่อันดับที่ 135 จาก 179

ความหวังกับความจริงของคนเรียนไอที

ความหวังกับความจริงของคนเรียนไอที
IT student with hope and real world
IT student with hope and real world
เคยเห็นภาพชวนคิดแบบนี้ .. มาก่อน
แต่ครั้งนี้ต่างออกไป เพราะตัวเลขหลังจาก
9GAG in thai” upload ภาพได้เพียง 2 ชั่วโมง
ก็มีคนกดไลค์ไปถึง 16,669
ต้องมีที่มาที่ไปทำให้ผู้คนกดไลค์ ว่าอะไรคือแรงบันดาลใจ
ติดตามข้อมูลที่ยังวิ่งต่อไปได้ที่

ค่ายอาสาเมื่อเกือบยี่สิบปีก่อน

20 พ.ค.56 เห็นภาพห้องเรียนที่ประยุกต์เป็นห้องพัก
ต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองของสถาบัน ที่มาใช้สถานที่จัดประชุม
ทำให้นึกถึงภาพสมัยออกค่าอาสาในป่าเมืองแพร่ ที่ต้องเดินเท้าเข้าไปสิบกิโลเมตร
แล้วพักค้างคืนในป่าหนึ่งคืน แล้วไปพักที่โรงเรียนอีกหนึ่งคืน
เพื่อทำกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านชาวเขา
ขากลับก็เดินออกมาอีกสิบกิโลเมตร เหนื่อยเลยครับ
การออกค่ายทรหดแบบนี้ผมออกครั้งเดียว ที่เหลือก็ไม่ขนาดนั้นแล้ว

ปรับห้องเรียนเป็นห้องพัก
ปรับห้องเรียนเป็นห้องพัก

ประชุมสหกิจคริสเตียนเขตภาคเหนือ
20 – 21 พ.ค.2556 มหาวิทยาลัยเนชั่น ลำปาง ให้การต้อนรับสหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย
เพื่อใช้เป็นสถานที่จัดประชุมสหกิจคริสเตียนเขตภาคเหนือ
มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 300 คน
โดยใช้ห้องประชุมใหญ่ อาคารคณะบริหารธุรกิจ
และค้างคืนที่ห้อง 1203 และ 1208 เป็นเวลา 1 คืน

http://blog.nation.ac.th/?p=2644

ไทยครองอันดับอัตราค่าบริการภายในโรงภาพยนตร์สูงมากเป็นที่ 3 ของโลก

เลขาธิการ สคบ. บอกว่า หนังไม่มีสาระอะไรเลย เอาสนุก เอาหัวเราะอย่างเดียว
ขึ้นมาเป็น 200 บาทแล้ว

cinema
cinema

http://news.mthai.com/webmaster-talk/236133.html

รายชื่อโรงหนัง หรือโรงภาพยนตร์ที่ลำปาง ในอดีต

พบข้อมูลในเฟสบุ๊คว่าประเทศไทยค่าตั๋วหนังแพง .. แต่ผมไม่ค่อยรู้สึกอย่างนั้น เพราะมีตัวเลือกมากมายเหลือเกินที่จะดูหนังสักเรื่อง จะดูโคนัน หรือซีรี่เกาหลี หรือ CSI ก็คงไม่มีในโรงภาพยนตร์ ถ้าเป็นหนังสักเรื่องเราหาได้จาก youtube.com หรือ download หรือ 7-Eleven หรือ ร้านซีดี หรือเว็บดูหนัง เวลาเพื่อน ๆ บอกว่าไปดูหนัง ทำให้นึกถึงโรงภาพยนตร์มากมายในอดีต .. ยุคก่อนมีซีดี หรืออินเทอร์เน็ต ซึ่งผมก็เป็นคนดูหนังเหมือนกัน เคยดูวันละหลายเรื่องมาแล้ว ตอนอยู่บางกอก

– โรงหนังดาว ลำปาง
– โรงหนังเขลางค์นคร ลำปาง
– โรงหนังฟ้าลานา ลำปาง (การแสดงคึ หลายครั้ง)
– โรงหนังประตูชัย ลำปาง
– โรงหนังเสรีซินิเพล็กซ์ ลำปาง (เดิมเป็นที่ตั้งโรงหนังเวียงเหนือ)
– โรงหนังพี.เจ.รามา ลำปาง
– โรงหนังเวียงเหนือ ลำปาง
– โรงหนังสยามราม่า ลำปาง
– โรงหนังเฉลิมวัฒนา ลำปาง (ผมก็ไม่เคยได้ยินชื่อ)
– โรงหนังแสงเจริญ ลำปาง (ดูส่วนตัว บน DVD)

รวมภาพเก่ามากในลำปาง [โรงหนังเฉลิมวัฒนา ลำปาง]
http://www.pantown.com/board.php?id=39487&area=3&name=board1&topic=11&action=view

รวมภาพโรงภาพยนตร์ในประเทศ [โรงหนังฟ้าลานา ลำปาง]
http://www.thaifilm.com/forumDetail.asp?topicID=2076

เรื่องราวโรงหนังเสรีซินิเพล็กซ์ ลำปาง
http://www.peoplecine.com/wboard/m_maintopic.php?GroupID=70&Begin=224&ID=2291

web guides
+ http://www.unigang.com/Article/13576 *** เรื่อง 600 บาท
+ http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9560000052428
+ http://pantip.com/topic/30435087

องค์ประกอบนั้น .. สำคัญไฉน

4 Key Elements Of Marketing Blogs
4 Key Elements Of Marketing Blogs

สิ่งมีชีวิตทั้งมวลล้วนเป็นไปตามกฎวัฏสงสาร มีเกิดมีดับเปลี่ยนไปตามภพภูมิ มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป แล้วก็กลับมาเกิดใหม่ แล้วทุกสถานะก็จะมีองค์ประกอบและค่าประจำองค์ของตนเอง การเลื่อนไหลจากสถานะหนึ่งไปอีกสถานะหนึ่งล้วนมีที่มาที่ไป ซึ่งค่าขององค์ประกอบทั้งหมดจะถูกรวมและประเมินว่าจะไหลไปอยู่ที่ใดเป็นเวลาเท่าใด  เช่นเดียวกันกับคุณภาพการศึกษาที่ต้องมีองค์ประกอบเป็นปัจจัยว่าสถาบันจะรุ่ง หรือจะร่วง

สนใจเรื่องนี้ เพราะ 3 เหตุการณ์

1. นึกถึงองค์ประกอบบริการวิชาการ ที่นักวิชาการบ่นว่า ไม่ทำได้ไหม

ที่รับผิดชอบในชั้นเรียนก็แทบแย่แล้ว ต้องรับผิดชอบนอกชั้นเรียนอีก .. เหนื่อยนะ

2. นึกถึง มหาวิทยาลัยอีสาน ที่มุ่งขยายโอกาสทางการศึกษาด้วยขยายจำนวนศูนย์ แต่ไม่ดูแลองค์ประกอบอื่น

3. นึกถึง ศูนย์นอกที่ตั้ง หลักสูตรนิเทศศาสตร์ ม.ศิลปากร ที่เน้นมืออาชีพ ไม่เน้นอาจารย์ประจำ ดังที่ สกอ.ตั้งเกณฑ์ไว้

แล้วข้อสรุปก็เป็นทำนองว่า ถ้าเน้นแต่มืออาชีพ ก็แสดงว่ายังไม่พร้อมเปิดสอนให้เป็นตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา

ให้หยุดรับปี 2556 มิเช่นนั้น ที่กำลังเรียนอยู่ปี 2 – 4 ก็จะไม่ได้รับการรับรองจาก ก.พ.

องค์ประกอบสำคัญ 4 ประการของ การตลาด

โดย สิทธิศักดิ์

http://www.makemany.com/4-key-elements-of-marketing-blogs.html

1. การค้นคว้าวิจัย (Research)

2. กลยุทธ์ (Strategy)

3. การวางแผน (Planning)

4. ยุทธวิธี (Tactics)

มีอารมณ์ ใช้อารมณ์ เสียเพราะอารมณ์ หลังถูกถ่ายคลิ๊ป

major cineplex
major cineplex

เรื่อง ผู้จัดการโรงหนัง Major Cineplex พระราม 3 ทะเลาะกับลูกค้า

หรือ

เรื่อง กรมศุลฯ ซี7 ตบบ้องหูเจ้าหน้าที่สุวรรณภูมิ

ต่างก็เป็นเรื่องของการใช้อารมณ์ทั้งคู่ ผมว่าปัจจุบันมีการใช้อารมณ์เกิดขึ้นมากมาย แต่ที่มาเป็นข่าวก็มักจะเป็นเรื่องที่มีคนถ่าย clip  แล้ว upload ก็จะมีคนดูมากมายเหมือนไทยมุง แล้วก็แชร์ให้มุงกันต่อ ๆ ไป สรุปว่า มีคนมีอารมณ์ มีคนใช้อารมณ์ และเสียเพราะอารมณ์ แล้วถูกบันทึกไว้ และเผยแพร่สู่สาธารณะ

แล้วนึกไปถึงหญิงเหล็กที่เป็นนักการเมืองอังกฤษ หลังเสียชีวิตก็มีคนกลุ่มหนึ่งชื่นชม แต่กลับถูกกลุ่มผู้ใช้แรงงานออกมาแสดงความยินดีกับการเสียชีวิต เป็นเรื่องที่คาดไม่ถึง และยังไม่เคยเห็นเหตุการณ์แบบนี้ในไทย เพราะคนไทยเคยชินกับคำว่าอโหสิกรรม แต่หญิงเหล็กตั้งใจทำงานโดยเลือกข้างทุนนิยม ดังนั้นกลุ่มผู้ใช้แรงงานจึงเก็บกดความไม่พอใจมาเป็นเวลาหลายทศวรรษ .. เรื่องนี้เป็นบทเรียนสำหรับนักการเมืองไทยนะครับ ในการบริหารความพึงพอใจของนายจ้างกับลูกจ้างให้ไปด้วยกันให้ได้ แต่ปัจจุบันรู้สึกลูกจ้างจะพอใจฝ่ายเดียว นายจ้างหน้างอกันเป็นแถว

เรื่องการควบคุมอารมณ์ไม่ได้ ถือเป็นเรื่องปกติสำหรับปุถุชน อย่างเช่น นายก. ตีลูกตอนที่อารมณ์เสีย แล้วมีใครถ่ายคลิ๊ปตอนทำหน้ายักษ์ ถ้าถูกเผยแพร่ก็จะเป็นเรื่องใหญ่โต ตอนพระทะเลาะกับศรัทธาที่ปากจัดก็อาจถูกจับสึกได้

ตอนลูกน้องใช้อารมณ์วิพากษ์การตัดสินใจของเจ้านายในวงเหล้าเพลิน
แล้วมีเพื่อนในวงถ่ายคลิ๊ปไว้ .. แล้วเจ้านายเห็นก็อาจเป็นเหตุให้ถูกไล่ออก

ที่แน่ ๆ มีข่าวว่าลูกน้องไปโพสต์ด่าเจ้านายในเฟสบุ๊ค แล้วถูกไล่ออกก็มีมาแล้ว หรือครูหนุ่มชมว่านักศึกษาสาวน่ารักและเซ็กซี่ คุณครูโดนไล่ออกก็มีมาแล้ว ล้วนเป็นเหตุจากอารมณ์ทั้งสิ้น จะอารมณ์รัก หรืออารมณ์โกรธ ก็ล้วนแต่มีปัญหาทั้งนั้น

.. อย่าลืมว่า smart phone สมัยนี้ถ่ายคลิ๊ปได้ และ ทุกคนที่เราไว้ใจ
พร้อมจะ upload
เข้าเครือข่ายสังคม .. โปรดระวัง ..

2 rules of Philip Kotler
Rule 1 :
The customer is always right.
Rule 2 :
If the customer is wrong, go back to rule 1.
http://books.google.co.th/books?id=5GigjssNBBwC&printsec=frontcover

การแบ่งปันในเครือข่ายสังคมมีแรงขับจากอัตตา (ego)

New research highlights that social sharing is driven by ego
Summary: ทำไมเราแบ่งปันลิงค์ไปบนเว็บสังคมที่เพื่อนของเราไม่เห็นจะสนใจ แล้วทำไมเรื่องแฟชั่นถึงมีการคลิ๊กกว่าเรื่องธุรกิจนะWhy do we share links on social sites that our friends are not particularly interested in? And why do articles about fashion get a higher percentage of clicks than articles on business?
By Eileen Brown for Social Business
April 12, 2013 — 09:59 GMT (17:59 SGT)
We feel compelled (บังคับ) to share information across our social channels when we find it on the web. But what are our motivations for doing this?
33Across which specialises in social sharing and content discovery has been examining our behaviour online. It has released research from its Tynt publisher solution to examine online sharing behaviour by consumers around the world.
Just like its report on advertising on Facebook post IPO (Initial Public Offering) the research brings up some interesting findings. 33Across examined 450 of its largest publishers across 24 content categories.
Publishers need to move beyond analyzing which content is most frequently shared and also consider the rate at which people click on shared links“.
It calculated sharing rate by dividing the number of shares by the number of page views for a given site. This normalized the data to provide an apples-to-apples comparison across categories.
Click back rate is calculated by dividing the number of clicks on all shared links for a web site by the number of total shares for the web site.
For example, if site xyz.com has 1,000 total shares and 500 clicks on the shared links, then the click back rate would be 50%.
The raw data comes from the Tynt service and is available through the company’s internal data portal where they have access to account-level information. The sites were manually categorized and data rolled up by category.
The research highlights some interesting behavior.
การแบ่งปัน และคลิ๊กกลับ
การแบ่งปัน และคลิ๊กกลับ
Obviously we do not share everything we read. Some topics warrant a higher sharing rate per page view than other topics. Science articles score highly. For every 100 science related articles we read, we are likely to share 12 of them with our friends or connections.
Conversely for every 100 articles relating to men’s health, fitness or relationships, we are likely to share only one article with our friends.
But what do your friends actually read? Are they more likely to read something just because you have shared it? Apparently not.
Stories with a high percentage of shares, such as science stories (11.8 per cent) have a low percentage of clicks (9 per cent). Stories with a low percentage of shares such as men’s health (1.1 per cent) have a high percentage of clicks (47 per cent).
So we are sharing highbrow topic stories that our friends just do not read. So why is that?
เป็นสมมติฐานที่น่าสนใจมาก
I might decide to share a science based article on a topic that I hardly understand with my connections. I am sharing this content because I want to be identified with specific topics that showcase just how much I know about the topic.

33Across.com call this ‘ego sharing’. It enhances my personal brand amongst my connections.
Alternatively I might share an article on parenting (การอบรมเลี้ยงดู) or consumer technology (เทคโนโลยีของผู้บริโภค). These practical articles help my connections with how-to advice. These types of articles are more likely to be clicked upon by my connections as there is practical value to them.
This is ‘practical sharing’ (การแบ่งปันที่ปฏิบัติได้จริง) according to 33Across.
Entertainment and celebrity content is less pro-actively (เชิงรุกน้อย) shared from the original web sites. Perhaps we do not want to admit that we avidly (กระหาย) consume celebrity gossip stories. However, once the content is released on social media, then the click through rates are really high.
This is called ‘water-cooler sharing‘.
The highest click rates are for news. 86 per cent of consumers click these links. But under 2 per cent of us share the links initially. Our motivation for sharing news is partially due to ego sharing and partially due to our desire to break the news to our friends.
We want to share to inform others about breaking news. Consumers are interested in the always on news cycle and click rates are high.
But the highest level of social engagement in the news category was for MailOnline, the digital sister of the Daily Mail, instrument of Paris Brown’s demise.
MailOnline has grown to become the #1 news and entertainment site in the world in part due to readers discovering our content through social sharing,” said Sean O’Neal, Global CMO of MailOnline.
Tynt’s category findings validate the extremely high social engagement that we observe every day with our readership.
Copying and pasting publisher content is how 82 per cent of online sharing begins,” stated Greg Levitt, GM of Publisher Solutions for 33Across.
As our category findings reveal, publishers need to move beyond analyzing which content is most frequently shared and also consider the rate at which people click on shared links.
Dispelling (การพัดกระจาย) myths (ตำนาน) about content consumption behavior while shedding (การไหล) light on the real motivations of readers is yet another way Tynt is helping publishers improve user acquisition (เข้ายึด) and retention (รักษา)  from social channels.
The research was carried out (ดำเนินการ) by 33Across for sites that are use the Tynt service, and it discovered that sites using its CopyPaste and SpeedShare features increased the number of shares and click backs compared to sites that were not using those tools.
Our own ego is driving us to share items that improve our social standing amongst our friends and connections and we hesitate to share items that might not make us look good.
So the deluge (เจิ่งนอง) of content containing pictures of kittens (ลูกแมว) and puppies (ลูกหมา) is not to improve our status amongst our friends but could simply be for the ‘Aww’ (ทุกคน) factor it gives them.

มาร์กาเร็ต แธตเชอร์ (Margaret Thatcher)

Margaret Thatcher
Margaret Thatcher

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 8 เม.ย.2556 ว่า ลอร์ด ทิม เบลล์ แถลงว่า เป็นที่น่าเศร้าใจอย่างยิ่งที่ต้องประกาศให้ทราบว่า นายมาร์ค และ แคโรล แธตเชอร์ ผู้เป็นบุตร ขอแจ้งให้ทราบว่า นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ เจ้าของฉายา “นางสิงห์เหล็ก” ผู้เป็นมารดา  ได้ถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบแล้ว ในวันที่ 8 เม.ย.2556 หลังมีอาการอุดตันของเส้นโลหิตไปเลี้ยงสมอง เมื่อช่วงเช้าวันนี้

สำนักพระราชวังบัคกิ้งแฮม แถลงด้วยว่า  สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ  ทรงเสียพระทัยเมื่อได้ทราบข่าวการถึงอสัญกรรมของนางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ และได้ส่งสารแสดงความเสียพระทัยไปยังครอบครัวของเธอด้วย

นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ นายกรัฐมนตรีหญิงคนเดียวของอังกฤษ วัย 87 ปี เป็นบุคคลสำคัญในวงการเมือง  เมื่อสามารถนำพรรคอนุรักษ์นิยมชนะการเลือกตั้งถึง 3 สมัย ตั้งแต่ปี 2522-2533  ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอังกฤษที่ยาวนานที่สุด นับตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา

เรื่องราวของเธอ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ในชื่อเรื่อง The Iron Lady
นำแสดงโดย เมอรีล สตรีป

http://en.wikipedia.org/wiki/Prime_minister

http://www.dailynews.co.th/world/196094