ผู้ใหญ่ในแวดวงการศึกษา

BOSS - Boss…ทีมล่าทรชน
BOSS - Boss…ทีมล่าทรชน

เรื่องย่อ: BOSS

เรื่องราวของพวกนักสืบ โอซาว่า เอริโกะ เป็น เจ้านายคนใหม่ ที่สวยสะดุดตาของหน่วยสืบสวน ซึ่งเธอเพิ่งจะกลับมาจากสหรัฐหลังจากการจบคอร์สการฝึกหัด เธอไม่เพียงแค่สวยอย่างเดียว แต่เธอนั้นยังฉลาดและมีความสามารถที่เก่งมาก ๆ เพราะความเก่งกาจของเธอ ๆ จึงไม่ค่อยจะเข้าใจในเรื่องผู้ชาย เธอจึงยังไม่มีสามี เรื่องการไปเข้าคอร์สของเธอนั้นเกิดจากที่เธอทำงานเกินหน้าผู้ชาย เธอจึงเหมือนถูกลดตำแหน่งลง เธอจึงต้องมาเป็นหัวหน้าของทีมแผนกที่เปิดใหม่ แต่ด้วยผลงานต่างๆ ภายหลังแผนกใหม่นี้ จึงได้รับการยอมรับให้แยกเป็นอีกหนึ่งแผนก

ในชีวิตของเราย่อมมีประสบการณ์กับผู้คนมากหน้าหลายตาในหลายระดับ
การศึกษาก็มีตั้งแต่อนุบาล ประถม มัธยม มหาวิทยาลัย
ทำให้รู้จักผู้คนมากมาย สำหรับผมก็รู้จักนักการศึกษาหลายท่าน
อาจเรียกท่านเหล่านั้นว่า BOSS หรือ Supervisor หรือหัวหน้า
หรือ เจ้านาย หรือผู้ใหญ่ในที่ทำงาน

ทำเนียบผู้ใหญ่ในดวงใจของผม
1. ดร.นิรันดร์ จิวะสันติการ
2. ศ.ดร.สุจินต์ จินายน
3. อ.สันติ  บางอ้อ
4. ผศ.ดร.จินดา งามสุทธิ
5. รศ.อรวรรณ  ทิตย์วรรณ
6. อ.ทันฉลอง รุ่งวิทู
7. ผศ.ดร.พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม

http://www.youtube.com/watch?v=pgoDRSHw5OI

http://www.thaiall.com/blog/burin/3293/
http://www.thaiall.com/blog/burin/731/

การแบ่งปันในเครือข่ายสังคมมีแรงขับจากอัตตา (ego)

New research highlights that social sharing is driven by ego
Summary: ทำไมเราแบ่งปันลิงค์ไปบนเว็บสังคมที่เพื่อนของเราไม่เห็นจะสนใจ แล้วทำไมเรื่องแฟชั่นถึงมีการคลิ๊กกว่าเรื่องธุรกิจนะWhy do we share links on social sites that our friends are not particularly interested in? And why do articles about fashion get a higher percentage of clicks than articles on business?
By Eileen Brown for Social Business
April 12, 2013 — 09:59 GMT (17:59 SGT)
We feel compelled (บังคับ) to share information across our social channels when we find it on the web. But what are our motivations for doing this?
33Across which specialises in social sharing and content discovery has been examining our behaviour online. It has released research from its Tynt publisher solution to examine online sharing behaviour by consumers around the world.
Just like its report on advertising on Facebook post IPO (Initial Public Offering) the research brings up some interesting findings. 33Across examined 450 of its largest publishers across 24 content categories.
Publishers need to move beyond analyzing which content is most frequently shared and also consider the rate at which people click on shared links“.
It calculated sharing rate by dividing the number of shares by the number of page views for a given site. This normalized the data to provide an apples-to-apples comparison across categories.
Click back rate is calculated by dividing the number of clicks on all shared links for a web site by the number of total shares for the web site.
For example, if site xyz.com has 1,000 total shares and 500 clicks on the shared links, then the click back rate would be 50%.
The raw data comes from the Tynt service and is available through the company’s internal data portal where they have access to account-level information. The sites were manually categorized and data rolled up by category.
The research highlights some interesting behavior.
การแบ่งปัน และคลิ๊กกลับ
การแบ่งปัน และคลิ๊กกลับ
Obviously we do not share everything we read. Some topics warrant a higher sharing rate per page view than other topics. Science articles score highly. For every 100 science related articles we read, we are likely to share 12 of them with our friends or connections.
Conversely for every 100 articles relating to men’s health, fitness or relationships, we are likely to share only one article with our friends.
But what do your friends actually read? Are they more likely to read something just because you have shared it? Apparently not.
Stories with a high percentage of shares, such as science stories (11.8 per cent) have a low percentage of clicks (9 per cent). Stories with a low percentage of shares such as men’s health (1.1 per cent) have a high percentage of clicks (47 per cent).
So we are sharing highbrow topic stories that our friends just do not read. So why is that?
เป็นสมมติฐานที่น่าสนใจมาก
I might decide to share a science based article on a topic that I hardly understand with my connections. I am sharing this content because I want to be identified with specific topics that showcase just how much I know about the topic.

33Across.com call this ‘ego sharing’. It enhances my personal brand amongst my connections.
Alternatively I might share an article on parenting (การอบรมเลี้ยงดู) or consumer technology (เทคโนโลยีของผู้บริโภค). These practical articles help my connections with how-to advice. These types of articles are more likely to be clicked upon by my connections as there is practical value to them.
This is ‘practical sharing’ (การแบ่งปันที่ปฏิบัติได้จริง) according to 33Across.
Entertainment and celebrity content is less pro-actively (เชิงรุกน้อย) shared from the original web sites. Perhaps we do not want to admit that we avidly (กระหาย) consume celebrity gossip stories. However, once the content is released on social media, then the click through rates are really high.
This is called ‘water-cooler sharing‘.
The highest click rates are for news. 86 per cent of consumers click these links. But under 2 per cent of us share the links initially. Our motivation for sharing news is partially due to ego sharing and partially due to our desire to break the news to our friends.
We want to share to inform others about breaking news. Consumers are interested in the always on news cycle and click rates are high.
But the highest level of social engagement in the news category was for MailOnline, the digital sister of the Daily Mail, instrument of Paris Brown’s demise.
MailOnline has grown to become the #1 news and entertainment site in the world in part due to readers discovering our content through social sharing,” said Sean O’Neal, Global CMO of MailOnline.
Tynt’s category findings validate the extremely high social engagement that we observe every day with our readership.
Copying and pasting publisher content is how 82 per cent of online sharing begins,” stated Greg Levitt, GM of Publisher Solutions for 33Across.
As our category findings reveal, publishers need to move beyond analyzing which content is most frequently shared and also consider the rate at which people click on shared links.
Dispelling (การพัดกระจาย) myths (ตำนาน) about content consumption behavior while shedding (การไหล) light on the real motivations of readers is yet another way Tynt is helping publishers improve user acquisition (เข้ายึด) and retention (รักษา)  from social channels.
The research was carried out (ดำเนินการ) by 33Across for sites that are use the Tynt service, and it discovered that sites using its CopyPaste and SpeedShare features increased the number of shares and click backs compared to sites that were not using those tools.
Our own ego is driving us to share items that improve our social standing amongst our friends and connections and we hesitate to share items that might not make us look good.
So the deluge (เจิ่งนอง) of content containing pictures of kittens (ลูกแมว) and puppies (ลูกหมา) is not to improve our status amongst our friends but could simply be for the ‘Aww’ (ทุกคน) factor it gives them.

พบปัญหา The file is corrupt and cannot be opened

เครื่องของเพื่อนเปิดแฟ้ม .xlsx ด้วย excel 2010 ไม่ได้ มีอาการดังนี้
1. download แฟ้มจาก email แล้ว double click ไม่ได้ แต่เปิดผ่าน browser ได้
2. download จากเว็บไซต์ แล้ว double click ก็ไม่ได้
3. แต่ไม่พบปัญหา หากสร้างแฟ้มในเครื่อง และเปิดในเครื่อง

ปัญหาที่พบ คือ เครื่องฟ้องว่า The file is corrupt and cannot be opened
แล้วก็เปิดแฟ้มไม่ได้

วิธีแก้ไขโดยปรับ option บางตัว มี 6 ขั้นตอน
ดังนี้
1. Open Excel 2010.
2. Click on File > Options.
3. Select Trust Center > Trust center settings.
4. Select Protected view.
5. Uncheck all the options under Protected View > OK.
6. Restart Excel 2010 and try to open Excel documents.

http://newsandguides.com/solution-the-file-is-corrupt-and-cannot-be-opened-excel-2010/

ส่วนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของกรุงเทพธุรกิจ

bangkokbiznews comment
bangkokbiznews comment

http://bit.ly/17oaJI9

มองระบบการแสดงความคิดเห็นของเว็บไซต์กรุงเทพธุรกิจ bangkokbiznews.com
ซึ่งปกติผมเข้าไปอ่านทัศนะวิจารณ์ของ blogger หลาย ๆ ท่านอยู่เป็นประจำ
แล้วเคยแสดงความคิดเห็นต่อท้ายบทความเหล่านั้น โดยใช้ account ของ facebook.com
ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้

แต่ครั้งนี้ต่างออกไป
เพราะระบบนี้เปิดรับสมาชิกของกรุงเทพธุรกิจ แบบไม่ต้องใช้บัญชีเฟซบุ๊ค
แล้วการจะแสดงความคิดเห็นก็แยกกันเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนสมาชิกเว็บไซต์ กับ สมาชิกเฟซบุ๊ค
หากแบ่งเป็นส่วนหลักก็จะเป็นดังนี้

1. เนื้อหา หรือบันทึกที่เขียนโดย blogger
2. ส่วนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใช้บัญชีของกรุงเทพธุรกิจ
3. ส่วนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใช้บัญชีของเฟซบุ๊ค

ซึ่งส่วนที่ 2 และ 3 แยกกันชัดเจน หากจะร่วมแลกเปลี่ยนให้สัมพันธ์กันก็ต้องเข้าไปให้ตรงส่วน

สรุปว่า .. วันนี้ก็ต้องสมัครสมาชิก เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมกับกรุงเทพธุรกิจ
ให้ครบทั้ง 2 ส่วน .. เล่าสู่กันฟัง

มาร์กาเร็ต แธตเชอร์ (Margaret Thatcher)

Margaret Thatcher
Margaret Thatcher

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 8 เม.ย.2556 ว่า ลอร์ด ทิม เบลล์ แถลงว่า เป็นที่น่าเศร้าใจอย่างยิ่งที่ต้องประกาศให้ทราบว่า นายมาร์ค และ แคโรล แธตเชอร์ ผู้เป็นบุตร ขอแจ้งให้ทราบว่า นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ เจ้าของฉายา “นางสิงห์เหล็ก” ผู้เป็นมารดา  ได้ถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบแล้ว ในวันที่ 8 เม.ย.2556 หลังมีอาการอุดตันของเส้นโลหิตไปเลี้ยงสมอง เมื่อช่วงเช้าวันนี้

สำนักพระราชวังบัคกิ้งแฮม แถลงด้วยว่า  สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งอังกฤษ  ทรงเสียพระทัยเมื่อได้ทราบข่าวการถึงอสัญกรรมของนางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ และได้ส่งสารแสดงความเสียพระทัยไปยังครอบครัวของเธอด้วย

นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์ นายกรัฐมนตรีหญิงคนเดียวของอังกฤษ วัย 87 ปี เป็นบุคคลสำคัญในวงการเมือง  เมื่อสามารถนำพรรคอนุรักษ์นิยมชนะการเลือกตั้งถึง 3 สมัย ตั้งแต่ปี 2522-2533  ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอังกฤษที่ยาวนานที่สุด นับตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา

เรื่องราวของเธอ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ในชื่อเรื่อง The Iron Lady
นำแสดงโดย เมอรีล สตรีป

http://en.wikipedia.org/wiki/Prime_minister

http://www.dailynews.co.th/world/196094

ผลจัดอันดับ 100 เว็บไซต์ที่ชาวไทยเข้ามากที่สุด

thailand ranking in alexa.com
thailand ranking in alexa.com

7 เม.ย.56 ผลจัดอันดับ 100 เว็บไซต์ที่ชาวไทยเข้ามากที่สุด

http://www.alexa.com/topsites/countries;3/TH

The top 100 sites in thailand on the web by alexa.com
1 facebook.com
2 google.co.th
3 google.com
4 youtube.com
5 blogspot.com
6 yahoo.com
7 live.com
8 sanook.com
9 wikipedia.org
10 pantip.com
11 amazon.com
12 kapook.com
13 wordpress.com
14 mthai.com
15 manager.co.th
16 thaiseoboard.com
17 linkedin.com
18 msn.com
19 thaivisa.com
20 twitter.com
21 googleusercontent.com
22 weloveshopping.com
23 webgame.in.th
24 paypal.com
25 yengo.com
26 dek-d.com
27 microsoft.com
28 dealfish.co.th
29 ebay.com
30 pinterest.com
31 blogger.com
32 bing.com
33 ohozaa.com
34 hao123.com
35 google.co.uk
36 kasikornbank.com
37 bbc.co.uk
38 adf.ly
39 tumblr.com
40 bloggang.com
41 bangkokbank.com
42 4shared.com
43 settrade.com
44 instagram.com
45 thairath.co.th
46 thepiratebay.se
47 soccersuck.com
48 pantipmarket.com
49 siamsport.co.th
50 vk.com
51 imdb.com
52 truelife.com
53 mediafire.com
54 godaddy.com
55 scbeasy.com
56 apple.com
57 agoda.com
58 alibaba.com
59 bangkokpost.com
60 tarad.com
61 stackoverflow.com
62 avg.com
63 yandex.ru
64 xhamster.com *
65 statcounter.com
66 teenee.com
67 wordpress.org
68 flickr.com
69 tripadvisor.com
70 lazada.co.th
71ddproperty.com
72 kasikornbankgroup.com
73 xvideos.com *
74 google.de
75 postjung.com
76 bp.blogspot.com
77 trueinternet.co.th
78 set.or.th
79 airasia.com
80 ask.com
81 google.fr
82 matichon.co.th
83 postto.me
84 conduit.com
85 dailymotion.com
86 overclockzone.com
87 babylon.com
88 rd.go.th
89 exteen.com
90 ihere.org
91 booking.com
92 truehits.net
93 imgur.com
94 thailandpost.com
95 thailandtorrent.com
96 siambit.org
97 histats.com
98 oknation.net
99 xnxx.com
100 t.co

ผลจัดอันดับ 100 เว็บไซต์ที่ชาวโลกเข้ามากที่สุด

global ranking in alexa.com
global ranking in alexa.com

7 เม.ย.56 ผลจัดอันดับ 100 เว็บไซต์ที่ชาวโลกเข้ามากที่สุด โดย alexa.com

http://www.alexa.com/topsites/global

The top 100 sites on the web by alexa.com
1 google.com
2 facebook.com
3 youtube.com
4 yahoo.com
5 baidu.com
6 wikipedia.org
7 live.com
8 qq.com
9 amazon.com
10 taobao.com
11 twitter.com
12 blogspot.com
13 linkedin.com
14 google.co.in
15 yahoo.co.jp
16 bing.com
17 sina.com.cn
18 yandex.ru
19 msn.com
20 ebay.com
21 wordpress.com
22 google.com.hk
23 google.co.jp
24 vk.com
25 google.de
26 163.com
27 google.co.uk
28 weibo.com
29 google.fr
30 microsoft.com
31 mail.ru
32 tumblr.com
33 googleusercontent.com
34 pinterest.com
35 google.com.br
36 fc2.com
37 xvideos.com
38 ask.com
39 hao123.com
40 google.ru
41 conduit.com
42 paypal.com
43 amazon.co.jp
44 craigslist.org
45 google.it
46 xhamster.com *
47 google.es
48 babylon.com
49 tmall.com
50 apple.com
51 imdb.com
52 blogger.com
53 sohu.com
54 mywebsearch.com
55 avg.com
56 bbc.co.uk
57 odnoklassniki.ru
58 soso.com
59 google.com.mx
60 amazon.de
61 instagram.com
62 google.ca
63 go.com
64 pornhub.com *
65 ifeng.com
66 aol.com
67 delta-search.com
68 alibaba.com
69 youku.com
70 stackoverflow.com
71 adcash.com
72 360.cn
73 bp.blogspot.com
74 blogspot.in
75 adobe.com
76 thepiratebay.se
77 adf.ly
78 t.co
79 redtube.com *
80 flickr.com
81 about.com
82 rakuten.co.jp
83 cnn.com
84 ebay.de
85 alipay.com
86 neobux.com
87 google.com.au
88 sogou.com
89 livedoor.com
90 imgur.com
91 amazon.co.uk
92 google.com.tr
93 google.pl
94 dailymotion.com
95 huffingtonpost.com
96 uol.com.br
97 netflix.com
98 xnxx.com *
99 livejasmin.com *
100 youporn.com *

สกอ. ประเมินหลักสูตรนิเทศ คณะไอซีที ศิลปากร ที่กสท. ไม่ผ่าน

ict silpakorn press
ict silpakorn press

2 เม.ย.2556 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ลงเผยแพร่เอกสารการประกาศยุติการรับนักศึกษาเข้าเรียนต่อในหลักสูตรนิเทศศาสตร์ประจำปี 2556 โดยชี้แจงว่า สกอ.มีมติพิจารณาการประเมินให้ไม่ผ่านมาตรฐาน โดยมีรายละเอียดชี้แจงดังต่อไปนี้

แถลงการณ์จากคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มศก.
เรื่องการรับนักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2556

28 มีนาคม 2556 มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับเอกสารแจ้งเรื่อง ผลการพิจารณากรณีทักท้วงผลการประเมิน ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามหนังสือเลขที่ ศธ. 0506(5) / ว 354 ลงวันที่ 22 มีนาคม 2556 กรณีมหาวอทยาลัยศิลปากร ได้ทำหนังสือทักท้วงผลการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ณ ศูนย์การศึกษา อาคาร กสท. บางรัก ของหลักสูตรนิเทศศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร “ไม่ผ่าน” ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการด้านมาตรฐานอุดมศึกษาในการประชุมครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 ได้พิจารณาวินิจฉัยผลการทักท้วงของมหาวิทยาลัยศิลปากรแล้ว มีมติยืนยันผลการประเมิน “ไม่ผ่าน” นั้น

จากมติของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาดังกล่าว มีผลให้คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ต้องยุติการรับนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2556 หากยังคงเปิดรับนักศึกษาใหม่อยู่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจะไม่รับทราบหลักสูตรทั้งในและนอกที่ตั้ง นับตั้งแต่วันที่แจ้งให้ทราบและประกาศต่อสาธารณะ รวมทั้งแจ้งสำนักงาน ก.พ. ต่อไป

ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการประชุมวาระด่วนที่สุด เมื่อวันอังคารที่ 2 เมษายน 2556 ได้มีการพิจารณาในเรื่องดังกล่าว และที่ประชุมมีมติให้คณะฯ ดำเนินการเกี่ยวกับการรับนักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ ประจำปี 2556 ดังต่อไปนี้

1. ในปีการศึกษา 2556 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร จะยุติการรับนักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ ในระบบกลาง (Admission) นอกสถานที่ตั้ง ณ ศูนย์การศึกษา อาคาร กสท. โทรคมนาคม บางรัก กรุงเทพ ตามมติ สกอ.

2. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จะเปิดรับนักศึกษาใหม่ ประจำปี 2556 ในสถานที่ตั้งหลักที่วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี โดยวิธีรับตรง จำนวน 100 คน ใน 2 สายวิชา ได้แก่ สายวิชาการลูกค้าสัมพันธ์ จำนวน 40 คน และสายวิชาวารสารและหนังสือพิมพ์ จำนวน 60 คน

ทั้งนี้ การคัดเลือกนักศึกษาเข้าเรียนในสายวิชาดังกล่าว คณะฯ จะใช้รูปแบบและเกณฑ์ในหการรับเข้าศึกษา เช่นเดียวกับการคัดเลือกนักศึกษา ในระบบกลาง (Admission) หากนักเรียนสนใจที่จะสมัครเข้าเรียนในสายวิชาดังกล่าวของคณะฯ ขอให้ติดตามข้อมูลต่างๆ จาก เว็บไซต์ www.ict.su.ac.th ต่อไป

ด้าน อาจารย์ศาสวัต บุญศรี  อาจารย์ประจำ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ได้ออกมาแสดงความคิดเห็นและสรุปมติดังกล่าวของสกอ.ว่า

1. หลักสูตรนิเทศ คณะไอซีที โดนประเมินจาก สกอ. ว่าไม่ผ่านเกณฑ์การตั้งนอกที่ตั้ง (สกอ. ทำเพื่อป้องกันผู้บริโภค มาเรียนแล้วโดนหลอก) สกอ. ได้ทำการปิดเพียบ พูดง่าย ๆ คือให้กลับเรียนเพชรบุรี (หรือวิทยาเขตอื่น ๆ)

2. สกอ.สั่งห้ามรับนักศึกษาในปีการศึกษาใหม่ หากยังรับให้ปีหนึ่งเรียนที่บางรัก จะทำการปิดหลักสูตร (ย้ำว่า หลักสูตร ไม่ใช่คณะ) และจะส่งเรื่องให้ กพ. ให้รับรองวุฒิ

3. ปี 2-4 นิเทศยังเรียนเหมือนเดิม ส่วนธุรกิจและออกแบบ ถือว่าการที่ปีสี่มาเรียนที่บางรักไม่มีปัญหา เพราะเรียนในวิทยาเขตที่ตั้งมาแล้วเกิน 50% ของหน่วยกิต

4. ทางอธิการฯและคณะได้หารือด่วน มีหลายทางเลือกมาก สุดท้ายอธิการเสนอให้ปีหนึ่งนิเทศ ปี 56 กลับไปเรียนเพชรบุรี (กลับยังที่ตั้ง) เมื่อได้สำรวจอาคารสถานที่ พบว่าหอในรับเพิ่มได้อีกราว 150 คน โดยเปิดเฉพาะสาขาลูกค้าสัมพันธ์และวารสารฯ เพราะการสร้างสตูดิโอสำหรับเอกที่เหลือยังไม่พร้อม การเรียนการสอนยังเหมือนธุกิจและออกแบบคือ ปีสี่กลับมาเรียนบางรัก

5. ทางสภามหาวิทยาลัยมีนโยบายตั้งแต่เลือกอธิการฯ ว่าใครคนใดได้เป็นต้องทำ city campus แห่งใหม่ให้ลุล่วง โดยท่านอธิการจะเปิดทำ TOR แล้วมีแผนคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จประมาณ 4 ปี เมื่อนั้น นิเทศไอซีที ก็สามารถกลับมาเต็มตัวได้ในแคมปัสแห่งใหม่

6. เหตุผลที่ไม่ผ่าน ขอบอกคร่าว ๆ คือ สกอ. ไม่นับตลิ่งชันเป็นอีกหนึ่งวิทยาเขต นอกจากนั้นยังชี้ว่าอัตราส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษามีน้อยเกินไป บวกกับไม่มีตำแหน่งทางวิชาการและจบปริญญาเอก (ในส่วนวุฒิการศึกษาและตำแหน่งวิชาการเป็นเรื่องจริง แต่ประเด็นอาจารย์พิเศษนั้น ท่านคณบดีท่านเก่าได้วางระบบไว้เพื่อเน้นอาจารย์พิเศษ สายนิเทศจำเป็นต้องเรียนกับมืออาชีพโดยมีอาจารย์ประจำสนับสนุนทางวิชาการ ส่งผลให้เด็กได้รับความรู้จากทั้งสองด้าน) รวมไปถึงมาตรฐานการเรียนที่ยังไม่ถึงเกณฑ์ ยิ่งเทียบกับหลักสูตรแบบเดียวกันของมหาลัยอื่น (แต่บัณฑิตจบแล้วมีงานทำประมาณ 90% และได้เสียงตอบรับจากนายจ้างในระดับดี อันนี้ไม่รู้ว่าเชื่อเกณฑ์ที่วัดหรือความพึงพอใจจากนายจ้างที่ทำงานในสายวิชาชีพจริงดี)
ที่มา : 1009news.in.th

http://www.isranews.org/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/item/20386-ict-silpakorn-1.html
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1364925371&grpid=01&catid=&subcatid=
http://men.postjung.com/668575.html
http://www.thairath.co.th/content/edu/336594
http://www.1009news.in.th/2013/04/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A/1270

บทเรียนกับ stored procedure บน mysql

stored procedure
stored procedure

บทเรียนกับ stored procedure บน mysql
1. ทดสอบกับ MySQL server
version 5.5.16 ใน thaiabc.com 8.0
2. เดิม start mysql ด้วย DOS>mysqld.exe –console
แต่พบปัญหาขณะ call procedure ว่า
ERROR 1436 (HY000): Thread stack overrun:  6892 bytes used of a 131072 byte stack, and 128000 bytes needed.  Use ‘mysqld –thread_stack=#’ to specify a bigger stack.
3. แก้ไขโดย start mysql ด้วย DOS>mysqld.exe –console –thread_stack=999999

4. สร้าง procedure
use test;
delimiter //
create procedure x01()
begin
select * from student;
end//
delimiter ;
grant execute on procedure test.x01 to ”@’localhost’;
call x01();

5. สร้าง function
create function addhead(s char(20))
returns char(50) deterministic
return concat(‘- ‘,s,’!’);
select addhead(sname) from student;

6. คำสั่งที่น่าสนใจ
show create procedure xxx;
drop procedure xxx;
show procedure status;
show function status;
help show;
show procedure status where Db = DATABASE() and type = ‘PROCEDURE’;
select * from mysql.proc;
select * from information_schema.routines;

7. web guides
http://devzonedd.designweb2you.com/viewthread.php?tid=82 ***
http://code.function.in.th/sqlserver/stored-procedure ***
http://www.mssqltips.com/sqlservertutorial/160/sql-server-stored-procedure/
http://msdn.microsoft.com/en-us/library/aa174792(v=sql.80).aspx
http://www.mysqltutorial.org/getting-started-with-mysql-stored-procedures.aspx
http://dev.mysql.com/doc/refman/5.1/en/stored-routines.html
http://php.net/manual/en/mysqli.quickstart.stored-procedures.php

จุดจบ/จุดเริ่ม

สิ้นสุด เริ่มต้น (finish begin)
สิ้นสุด เริ่มต้น (finish begin)

จุดจบ/จุดเริ่ม

จบจากจุดเริ่ม…เริ่มจากจุดจบ
เมื่อเดินทางมาถึงจุดจบ เรามองเห็นจุดเริ่มต้นหรือไม่
เรามองข้ามความเหนื่อยล้า เรามองหาโอกาสที่จะเริ่มใหม่หรือเปล่า
จุดจบเป็นเพียงบทหนึ่ง ไม่ใช่ทั้งหมดของชีวิต
หากเรายังไม่หยุดที่จะเริ่มต้น เราจะค้นพบความสุขได้ไม่สิ้นสุด
http://www.tairomdham.net/index.php?topic=8326.0

จากปฏิทินตั้งโต๊ะ ธนาคารกรุงเทพ ปีพ.ศ.2556
http://www.facebook.com/media/set/?set=a.620932377920897.1073741833.506818005999002