สมัยก่อนมนุษย์มีสมบัติพัสถาน น้อยประเภทกว่าสมัยนี้นะ

sar handbook in bhes 2557
sar handbook in bhes 2557

สมบัติพัสถาน หมายถึง ทรัพย์สิน ที่ดิน และบ้านเรือน
อันได้แก่ แก้ว แหวน เงิน คำ ภาพวาด รูปป้้น อาคาร และสิ่งปลูกสร้าง
แต่สมัยนี้หาสมบัติพัสถานแบบเดิมมาเป็นเจ้าของนั้นยากขึ้น
สำหรับบางอาชีพ สมัยนี้การเลือกอาชีพจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับเด็กมัธยม

สมบัติรูปแบบใหม่ที่เริ่มหากันมาครอบครอง ก็คือสิ่งที่อยู่ใน cloud
จับต้องกันไม่ค่อยได้ ที่จับต้องได้ก็เป็นเพียงเครื่องมือ เช่น server
แต่สิ่งมีค่ากว่า hardware คือ content
เช่น ภาพ คลิ๊ป งานเขียน เพชรนินจินดาในเกม หรือเงินในเกม เป็นต้น

วันนี้ได้ใช้บริการ revision ของ scribd.com
คือ upload เอกสารของ สกอ. ไปทับของเดิม
แต่ข้อมูลแวดล้อมเดิมยังอยู่
เพียงแต่เปลี่ยนรุ่น ก็เหมือนระบบของ fb group
ที่ผมมัก upload lecture note ให้นักศึกษาได้ติดตาม
ในระหว่างเรียนมีการแก้ไข ก็จะทำการ revision หลังปิดชั้นเรียน

เหตุที่ต้อง revision ใน scribd.com ครั้งนี้
เพราะผมนำเอกสาร pdf มา merge กันด้วย pdfcreator
แต่มีปัญหา หน้าสีดำเป็นบางหน้า
แล้ววันต่อมา ที่มหาวิทยาลัย คุณเปรม ได้รับแฟ้มจากพี่ทอง
แล้ว upload แฟ้มที่มีการ merge กันอย่างสมบูรณ์
ผมจึงนำเอกสาร ที่เป็นร่างประกันสกอ. 2557 มา upload ทับรุ่นเดิม
ผมถือว่าเอกสารต่าง ๆ ใน cloud หรือ social media
ล้วนเป็นสมบัติพัสถาน เพราะมีค่าทางจิตใจ และรู้สึกว่าเราเป็นเจ้าเข้าเจ้าของนั่นเอง

scribd can do revision
scribd can do revision

เอกสารรุ่นใหม่ ค้นจาก google.com ด้วยคำว่า
“ร่างคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557”
พบลิงค์แรก คลิ๊กเข้าไปก็พบบริการ “ตรวจสอบรายชื่ออาจารย์”
ที่ http://www.mua.go.th/users/bhes/

รุ่นใหม่ ทาง สกอ.ได้อัพเดท กำหนดตัวบ่งชี้ไว้ถึง 2.9
https://www.scribd.com/doc/241588240/

ส่วนรุ่นเก่าที่ระดับคณะวิชา กำหนดตัวบ่งชี้ไว้ถึง 2.8
เมื่อ 3 ต.ค.57 พบว่าถูก view ไป 377 ครั้ง
https://www.scribd.com/doc/221987061/

5w จาก ohec newsletter

ohec newsletter
ohec newsletter

พบคำว่า 5 w จาก จดหมายข่าวของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (OHEC Newsletter) ซึ่งประกอบกอบด้วย who what when where และ why หรือใคร ทำอะไร เมื่อไร ที่ไหน ทำไม ซึ่งคาดว่าต้องการให้ผู้อ่านได้ตระหนักในการทำกิจกรรม / โครงการ ว่าต้องคิดอย่างไร จากแนวเริ่มต้นที่ให้มาทั้ง 5 มีดังนี้
1. งานนั้นใครรับผิดชอบ หรือมีเจ้าภาพ
2. งานนั้นคืออะไร ทำอะไร หรือเพื่ออะไร
3. งานนั้นทำเมื่อไร เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องทำแต่ละช่วงเวลา
4. งานนั้นทำที่ไหน ภายนอก/ภายใน เตรียมตามแผนอย่างไร
5. งานนั้นทำไปทำไม จำเป็นแค่ไหน สมเหตุสมผลที่จะทำหรือไม่
ผมว่า สกอ. คงเสนอว่านี้เป็นการเริ่มต้น หากก้าวพ้นแนวคิดเริ่มต้นด้วยความเข้าใจได้ คงไปถึง AAR ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมก่อนกระบวนการวนรอบจะครบถ้วนสมบูรณ์
http://www.thaiall.com/pdf/ohec/
http://www.mua.go.th/pr_web/ohecnewsletter/index.html