หลักของพาเรโต 80/20 มีตัวอย่างในหลายสาขาวิชา

output is hello world
output is hello world

The distribution is claimed to appear in several different aspects
relevant to entrepreneurs and business managers.
For example:
    80% of problems can be attributed to 20% of causes.
    80% of a company’s profits come from 20% of its customers
    80% of a company’s complaints come from 20% of its customers
    80% of a company’s profits come from 20% of the time its staff spend
    80% of a company’s sales come from 20% of its products
    80% of a company’s sales are made by 20% of its sales staff

http://c2.com/cgi/wiki?EightyTwentyRule

ตัวอย่างทางคอมพิวเตอร์ก็มี 4 ตัวอย่าง
1. Microsoft noted that by fixing the top 20% of the most-reported bugs, 80% of the related errors and crashes in a given system would be eliminated.
ไมโครซอฟต์บันทึกไว้ว่า การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อย 20% ที่รายงานมากที่สุด จะทำให้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอีก 80% ถูกจัดการไปด้วย
2. In load testing, it is common practice to estimate that 80% of the traffic occurs during 20% of the time.
ในการทดสอบการโหลด พบว่า 80% ระหว่างการโหลดนั้น ทุ่มไปกับ 20% ที่เป็นเรื่องของเวลา
http://www.somkiat.cc/think-before-load-testing/
3. In software engineering, Lowell Arthur expressed a corollary principle: “20 percent of the code has 80 percent of the errors. Find them, fix them!”
โลเวล อาร์เธอร์ นำเสนอหลักการข้อพิสูจน์ว่า “20% ของโค้ด มีข้อผิดพลาดอยู่ 80% ค้นหาและแก้ไขซะ”
Lowell Arthur คือ ผู้สั่งการภารกิจ Apollo 13
https://en.wikipedia.org/wiki/Jim_Lovell (James Arthur “Jim” Lovell, Jr.)
4. Software frameworks have often been observed to make 80% of use cases easier to implement and 20% of use cases much more difficult to implement.
กรอบซอฟต์แวร์ถูกพบได้บ่อยว่าการทำโปรแกรมเพื่อใช้ที่ง่ายขึ้น 80% มาจากส่วนที่ยากขึ้น 20%
อ้างอิงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Pareto_principle

ตามคลิ๊ปอธิบายกฎนี้ว่า
อะไรก็ตามที่อยู่เต็ม 100%
80% จาก 100% จะถูกครอบครองโดย 20%
และอะไรก็ตามที่เหลือจาก 20% จะถูกครอบครองโดย 80%


วิลเฟรโด พาเรโต นักเศรษฐศาสตร์ชาวอิตาเลี่ยน
พูดถึงหลักของพาเรโต ตั้งแต่ค.ศ.1895
โดยอธิบายว่า “สิ่งที่สำคัญจะมีอยู่เป็นจำนวนที่น้อยกว่าสิ่งที่ไม่สำคัญ
หรือ “สิ่งที่มีประโยชน์จะมีอยู่เป็นจำนวนที่น้อยกว่าสิ่งที่ไม่มีประโยชน์
ในอัตราส่วน 20 ต่อ 80 หรือ ที่เรียกกันว่า กฎ 80/20
[ด้านเศรษฐศาสตร์]
การผลิตของมีตำหนิขึ้น 20% จะเป็นปัญหา 80% ของปัญหาทั้งหมด
เสื้อผ้า 100 ตัว จะใจประจำอยู่เพียง 20 ตัว
จับกลุ่มทำรายงาน 10 คน จะมีเพียง 2 – 3 คนที่เป็นแกนนำ
อ่านหนังสือ 100 หน้า จะมีเพียง 20 หน้าเท่านั้นที่ถูกนำมาออกข้อสอบ
คน 100 คนทำงาน มีเพียง 20 คนที่มุ่งมั่นทำงาน และเจริญก้าวหน้า
ร้านขายของชำมีสินค้านับ 100 รายการ แต่รายได้ 80% มาจากสินค้าเพียง 20%
ประเทศทุนนิยม คนรวย 20% สร้างรายได้ให้ประเทศเป็น 80% ของรายได้ทั้งประเทศ
มูลค่ารายจ่ายกว่า 80% มาจากรายการที่ใช้จ่ายเพียง 20% ของรายการทั้งหมด
อ้างอิงจาก http://www.oknation.net/blog/knowledge09/2009/08/15/entry-1

อ้างอิงเพิ่มเติม http://www.clairenewton.co.za/my-articles/paretos-principle-the-80-20-rule.html

ปรับ header ของ wp Twenty Eleven 1.3

lampang.net
lampang.net

มีโอกาสใช้ theme ชื่อ Twenty Eleven 1.3 ของ wordpress.com ที่บริการบนเว็บไซต์ lampang.net พบว่ามี header ส่วนสีขาวบนสุด ค่อนข้างสูงเกินพอดี ผมปรับรายละเอียดดังนี้

1. แก้ header.php ลบ hgroup h1 และ h2 แต่ content ยังอยู่

2. ลบ searchform ออกจาก header.php
<?php
// Has the text been hidden?
if ( ‘blank’ == get_header_textcolor() ) :
?>
<div>
<?php get_search_form(); ?>
</div>
<?php
else :
?>
<?php get_search_form(); ?>
<?php endif; ?>