ภาพยนตร์เรื่องนี้เหมาะกับโปรแกรมเมอร์ เพราะโปรแกรมเมอร์ควรเป็นนักคณิตศาสตร์
คงมีหลายคนเคยดูภาพยนตร์เรื่อง ถอดรหัส อัจฉริยะพลิกโลก (imitation game) แล้ว
พระเอกเรื่องนี้เป็น ออทิสติก และไม่จำเป็นว่านักคอมพิวเตอร์ต้องเป็น ออทิสติกทุกคนนะครับ .. 555
มีประโยคหนึ่งที่น่าสนใจ คือ “ถ้าทำสิ่งที่รุนแรงแล้วไม่รู้สึกดี ก็คงจะรู้สึกว่างเปล่า”
.. ถ้าใคร ดูบอลแล้วรู้สึกว่าง กลวง ๆ
.. ถ้าใคร ดูมวยแล้วรู้สึกว่าง กลวง ๆ
.. ถ้าใคร ดูการแข่งขันแล้วรู้สึกว่าง กลวง ๆ
.. ก็เพราะ ไม่รู้สึกดีเมื่อได้ดูการใช้ความรุนแรงต่อกัน ซึ่งเท่ากับไม่ชอบการแข่งขัน
.. ผมว่านะ alan คงรู้สึกเฉย ๆ เมื่อดูบอล ดูมวย หรือดูการแข่งขัน
.. แล้วคงถามว่า เตะบอลกันทำไม ต่อยมวยกันทำไม แข่งขันกันทำไม
.. อาจเป็นเพราะเขาเป็นออทิสติกประเภทหนึ่ง ที่เรียกว่า แอสเพอร์เกอร์ (Asperger Syndrome)
—
ตัวอย่างการเข้ารหัสแบบ Simple substitution
ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ
XQRSZATUVWCMYHIJNOFGBKLPDE
V MIKZ DIB = ?
– การแทนที่แบบซีซาร์ (Caesar Cipher) – เลื่อนบิท
– การแทนที่แบบอิสระ (Monoalphabetic substitution) – ใช้ ciphertext
– การแทนที่แบบไวเจเนียร์ (Vigenere Encryption) – ใช้วลีมาเข้ารหัส
—
แอลัน ทัวริง (Alan Turing) ในฐานะอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์
“มนุษย์ชอบความรุนแรง เพราะความรุนแรงมันทำให้รู้สึกดี
แต่หากตัดความรู้สึกนั้นไป ก็เหลือเพียงแต่การกระทำอันกลวง ๆ”
“Do you know why people like violence? It is because it feels good.
Humans find violence deeply satisfying.
But remove the satisfaction, and the act becomes… hollow (กลวง).
—
“คนบางคนที่ไม่มีใครจะคิดถึง
ก็สามารถทำเรื่องที่ไม่มีใครจะจินตนาการถึงได้เหมือนกัน”
“Sometimes it is the people who no one imagines
anything of who do the things that no one can imagine.”